ก.ไอซีที เดินหน้าขับเคลื่อนภารกิจการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลต่อเนื่อง – ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เปิดเผยถึงความคืบหน้าของกฎหมาย 3 ฉบับ ได้แก่ ร่างพ.ร.บ.การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. .... ทั้งโครงสร้างและสาระสำคัญยังคงเดิมไว้ เพียงเพิ่มคำนิยามให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
ก.ไอซีที เผย สนช.มีบทบาทสำคัญร่วมผลักดันกฎหมายดิจิทัลรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี – ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เปิดเผยภายหลังร่วมการเสวนาของคณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมวลชน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เรื่อง "การสร้างความรู้ความเข้าใจนโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม" ว่า จากการที่รัฐบาลแถลงต่อสนช. เกี่ยวกับนโยบายพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
หยุด! ร่าง หมกเม็ด พรบ.เศรษฐกิจดิจิทัล ที่ไม่ตอบคำถามสังคม – นางสุวรรณา จิตรประภัสสร์ ที่ปรึกษามูลนิธิเพื่อผู้บริโภค เปิดเผยว่า เป็นที่น่าตกใจอย่างยิ่งว่ากระทรวงไอซีทีจะนำ ร่างกฎหมายดิจิทัล ซึ่งรวมถึง ร่าง พรบ. การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และร่าง แก้ไข พรบ.กสทช.เข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีในวันนี้ (อังคารที่ 28 เมษายน 2558) โดยยังไม่มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมทบทวน เสนอแนะ แก้ไข
NBTC Policy Watch ชี้ร่างกฎหมายดิจิทัลฯ ขาดวิสัยทัศน์เชิงปฏิบัติ ไร้กระบวนการมีส่วนร่วมร่วม และเป็นการดึงอำนาจจัดสรรคลื่นและใช้งบประมาณกลับไปสู่หน่วยงานโดยขาดการทำงานร่วมกับ กสทช. – วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง นักวิจัยประจำโครงการฯ ชี้ว่าร่างกฎหมายดิจิทัลฯ ใหม่มีการเปลี่ยนแปลงอำนาจหน้าที่ของ กสทช. หลัก 4 ประการ คือ 1) ดึงอำนาจในการจัดสรรคลื่นความถี่กลับไปยังหน่วยงานรัฐ โดย กสทช.
กสทช. จัดเสวนา “บทบาท กสทช. ภายใต้เศรษฐกิจ-สังคมดิจิทัล: ร่างกฎหมายดิจิทัลฯ ตอบโจทย์หรือไม่?” – วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13.00-16.00 น.ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอกคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ชั้น 4 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์จัดโดย โครงการติดตามนโยบายสื่อและโทรคมนาคม (NBTC Policy Watch) ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
องค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ภาคประชาชนเสนอรัฐบาลยุติกฎหมายดิจิทัล 10 ฉบับพร้อมทำใหม่แบบเพิ่มสิทธิผู้บริโภคและมีส่วนร่วมทุกฝ่าย – 1) ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 2) ร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3) ร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ 4) ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 5) ร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล 6) ร่าง