กนอ.เตรียมแผนรับมืออุทกภัย 55
นิคมฯทั่วประเทศ พร้อมเฝ้าระวัง 3 นิคมฯ เสริมคันดิน – ประตูกั้นน้ำ ร่วมกรมชลฯ ตั้งศูนย์รายงานแบบเรียลไทม์ –
Jul 2018
รัฐมนตรีเกษตรฯ รุดลงพื้นที่โคราช หารือหน่วยเกี่ยวข้องเตรียมแผนแก้ไขปัญหาน้ำต้นทุนของเขื่อนลำตะคองก่อนเข้าแล้ง หลังพบปริมาณน้ำเก็บกักเฉลี่ยเพียง 35 % สั่งกรมชลฯ เตรียมศึกษาแผนทำอ่างพวงตามแนวทางศาสตร์พระราชาผันน้ำจากเขื่อนป่าสักฯ เข้าเขื่อนลำตะคอง – ดังนั้น จึงต้องวางแผนเตรียมการช่วยเหลือล่วงหน้า โดยได้สั่งการให้จัดทำแผนดำเนินการช่วยเหลือทั้งในระยะสั้น และ ระยะยาว โดยแผนระยะสั้นในช่วงที่ยังพอมีความชื้น
“พลเอกฉัตรชัย” นั่งบัญชาการศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ สั่งเร่งระบายน้ำที่ยังท่วมขังภาคอีสานหลายจังหวัด พร้อมสั่งกรมชลฯ เฝ้าติดตามสถานการณ์ฝนระลอกใหม่กับหน่วยเกี่ยวข้องใกล้ชิด ยันเร่งเสนอครม.ช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบภัยน้ำท่วมเป็นกรณีเร่งด่วนรายละ 3 พันบาท – อย่างไรก็ตาม ได้สั่งการและเร่งรัดการปฏิบัติงานในพื้นที่ โดยในภาคอีสาน ได้สั่งการให้มีการเร่งระบายน้ำออกจากเขื่อนลำปาว ลงมาทางกาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด และ อุบลราชธานี
“รัฐมนตรีเกษตรฯ” เผยการพัฒนาเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามแนวทางยุทธศาสตร์น้ำ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 เดินหน้าเกินเป้า พร้อมสั่งกรมชลฯ พร้อมรับมือพายุโซนร้อน “เซินกา”(SONCA) ย้ำทุกโครงการชลประทานในพื้นที่เสี่ยงภัยให้จับตาอย่างใกล้ชิด – ด้าน นายสัญชัย เกตุวรชัย อธิบดีกรมชลประทาน กล่าวถึงสถานการณ์พายุโซนร้อน "เซินกา" (SONCA) ที่จะเข้าปกคลุมในไทยว่า ศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ(SWOC) ได้ติดตามสภาวะอากาศและสถานการณ์น้ำ โดยกรมอุตุนิยมวิทยา
“บิ๊กฉัตร” ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสถานการณ์น้ำท่วม จ.สกลนคร หลายพื้นที่ระดับน้ำเริ่มลดแล้ว สั่งกรมชลฯ ติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำตลอดลำน้ำก่ำเพื่อผลักดันน้ำลงแม่โขง หากไม่มีฝนเพิ่มคาดเข้าสู่ภาวะปกติภายใน 7 วัน – วันนี้ (31 ก.ค. 60) พล.อ.ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระททรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงพื้นที่ติดตามการช่วยเหลือและบรรเทาปัญหาอุทกภัยจากพายุเซินกา ณ บ้านงิ้วด่อน หมู่ 1 ต.งิ้วด่อน อ.เมือง จ.สกลนคร
กระทรวงเกษตรฯ เผยพื้นที่ประสบอุทกภัยเหลือเพียง 4 จว. ส่วนน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยายังต่ำกว่าตลิ่ง กรมชลฯ ยังคงเดินหน้าระบายน้ำออกจากพื้นที่อย่างต่อเนื่อง – นายสัญชัย เกตุวรชัย อธิบดีกรมชลประทาน เปิดเผยว่า สถานการณ์อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางทั่วประเทศ ปัจจุบัน (30 พ.ค. 60) มีปริมาณน้ำในอ่างฯ รวมกันทั้งสิ้น 41,005 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 55 ของความจุอ่างฯ ปริมาณน้ำปีนี้มากกว่าปี 2559 รวม 8,225 ล้าน ลบ.ม. มีปริมาณน้ำใช้การได้ 17,186 ล้าน
ฝนหลวงฯ ร่วมกรมชลฯ บูรณาการแก้ไขปัญหา “สาหร่ายบลูม” ในพื้นที่เขื่อนลำโดมใหญ่ได้สำเร็จ – นายสุรสีห์ กิตติมณฑล กล่าวเพิ่มเติมว่า "จากการปฏิบัติการฝนหลวงของศูนย์ปฏิบัติการฝนหลวงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงระหว่างวันที่ 23-25 เมษายน 2560 ได้ขึ้นปฏิบัติการฝนหลวง บริเวณลุ่มรับน้ำโดมและเขื่อนลำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี โดยขึ้นปฏิบัติการฝนหลวงจำนวนรวม 9 เที่ยวบิน จำนวนชั่วโมงบิน 16 ชั่วโมง 10 นาที ใช้สารฝนหลวงจำนวนรวม 10
เกษตรฯ เดินหน้าบางระกำโมเดล กรมชลฯ จับมือหน่วยทหารในพื้นที่เปิดศูนย์ประสานงาน โครงการบางระกำโมเดล 60 เพื่อเร่งจัดสรรน้ำเกษตรกรในพื้นที่เริ่มปลูกข้าวนาปี 1 เม.ย.ได้ตามแผน – นอกจากนี้ ยังได้นำเทคโนโลยีมาใช้ด้วย โดยติดตั้งกล้อง IP Camera เพื่อเฝ้าตรวจระบบการส่งน้ำเพาะปลูกจากแม่น้ำน่านเข้าสู่พื้นที่ "โครงการบางระกำโมเดล 60" ซึ่งจะส่งภาพแบบ Real Time ไปยัง Warroom ของฝ่ายทหาร อ.บางระกำ อ.พรหมพิราม อ.กงไกรลาศ อำเภอเมืองพิษณุโลก
ฝนหลวงจับมือกรมชลฯ ร่วมกำหนดพื้นที่เป้าหมายเติมน้ำในเขื่อน และเตรียมพร้อมปฏิบัติการฝนหลวงทั่วประเทศ – นายสุรสีห์ กิตติมณฑล อธิบดีกรมฝนหลวงและการบินเกษตร เปิดเผยว่า จากความห่วงใยของพลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กรมฝนหลวงและการบินเกษตรจึงได้ร่วมมือกับกรมชลประทานในการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์น้ำในช่วงฤดูแล้งและช่วงต้นฤดูฝนโดยร่วมวางแผนกำหนดพื้นที่เป้าหมายการปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อเติมน้ำต้นทุนในเขื่อน
“รัฐมนตรีเกษตรฯ” เร่งช่วยเหลือน้ำท่วมภาคใต้อย่างต่อเนื่อง ย้ำหน่วยงานติดตามสถานการณ์ พร้อมวางแผนบูรณาการเตรียมการล่วงหน้า สั่งกรมชลฯ สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ/ผลักดันน้ำ เร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่น้ำท่วมขังอย่างเต็มที่ – นายทองเปลว กองจันทร์ รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวว่า สาเหตุที่เกิดน้ำท่วมทางภาคใต้เนื่องจากมีปริมาณฝนตกหนักในช่วง 31 ธ.ค.59 เป็นต้นมา โดย จังหวัดนครศรีธรรมราช มีปริมาณฝนสะสม 3 วัน (31 ธ.ค. 59 - 2 ม.ค. 60) ในอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
“พล.อ.ฉัตรชัย” สั่งทุกหน่วยเร่งช่วยเหลือพื้นที่น้ำท่วมภาคใต้ กรมชลฯ เร่งแผนระบายน้ำ 3 จังหวัดที่ยังท่วมหนักด้านกรมปศุสัตว์นำถุงยังชีพสำหรับสัตว์พร้อมเสบียงสัตว์ช่วยเหลือ – อย่างไรก็ตาม จังหวัดที่ได้รับผลกระทบไม่มากนัก ได้แก่ จ.ตรัง ยะลา และ ปัตตานี คาดว่าจะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ ใน 1 - 2 วัน ขณะที่จังหวัดที่ได้รับกระทบมาก ได้แก่ จ.นราธิวาส นครศรีธรรมราช และ พัทลุง
“รัฐมนตรีเกษตรฯ” สั่งกรมชลฯ เตรียมการแก้ไขปัญหาน้ำอย่างครบถ้วน เดินหน้าสำรวจและเสริมคันกั้นน้ำในจุดที่ไม่แข็งแรงก่อนน้ำหลาก พร้อมป้องกันน้ำไหลย้อนจากแม่น้ำเพชรบุรีเข้าท่วมเมือง – อย่างไรก็ตาม จากสถานการณ์น้ำทะเลที่หนุนสูงขึ้น และฝนที่ตกหนักในช่วงวันที่ 1 - 2 พฤศจิกายน 2559 ทำให้เขื่อนแม่ประจันต์ต้องระบายน้ำเพิ่มมากขึ้น และน้ำไหลมาที่เขื่อนเพชรมากขึ้น ซึ่งเขื่อนเพชรเป็นเขื่อนทดน้ำ จำเป็นต้องเพิ่มการระบายน้ำจาก 213 ลบ.ม./วินาที เป็น 228 ลบ.ม./วินาที