ไทย' ร่วมกับ 'FAO' จัดงาน IUU DAY หวังกระตุ้นให้เห็นคุณค่าของทรัพยากรประมง พร้อมแสดงความสำเร็จของรัฐบาลไทยในการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย – ปัจจุบันไทยได้ผลักดันการแก้ไขปัญหา IUU ของประเทศจนเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ อาทิ การผลักดันนโยบายประมงร่วมอาเซียน (ASEAN General Fisheries Policy) การเข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศ เช่น
กรมประมงแจงข้อเรียกร้อง หลังชาวประมงขู่งดจับปลาเตรียมตบเท้าเข้าทำเนียบ – นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่า การแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย ภาครัฐได้ดำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาการทำประมงที่ไม่ถูกต้องที่สั่งสมมาช้านานในทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงให้มีใช้อย่างยั่งยืน สำหรับ ข้อเรียกร้องดังกล่าวนั้น กรมประมงขอเรียนชี้แจงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมประมง ดังนี้ (1) ปัญหาการขาดแคลนแรงงานประมง
กรมประมงแจงภาครัฐดำเนินมาตรการสกัดกั้น ทุกกระบวนการทำประมงผิดกฎหมายอย่างเป็นระบบและเข้มงวด – นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่าคงต้องขอขอบคุณ ภาคประชาสังคมต่างๆ ที่มีความห่วงใย และตระหนักในความรับผิดชอบร่วมกันในการที่จะให้ "การประมงของไทยมีความยั่งยืน" โดยเฉพาะการทำศึกษาวิจัยที่ต้องใช้ความมุ่งมั่น ตั้งใจของนักวิจัยที่จะต้องดำเนินการศึกษาวิจัย อย่างครบถ้วน ครอบคลุม และถูกต้อง ตามหลักวิชาการ
“บิ๊กฉัตร”ส่งทูตวีระชัยนำทีมคณะผู้แทนไทยพร้อมภาคเอกชนผนึกกำลัง บุกเวทีประมงระดับโลกเสริมความเชื่อมั่นประมงไทยปลอดไอยูยู – สำหรับกิจกรรมภายในงานนอกจากการจัดแสดงสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงใหม่ๆ รวมทั้งการแปรรูป บรรจุภัณฑ์ บริการด้านสินค้าอาหารทะเล โซนนิทรรศการของหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการประมงของทั่วโลกแล้ว ยังมีกิจกรรมที่สำคัญ คือ การเสวนาเกี่ยวกับสถานการณ์ สถานะ ข้อมูลปัจจุบันด้านการประมงระดับภูมิภาคและระดับโลก
รัฐมนตรีช่วยเกษตรฯ ติดตามการปฏิบัติงานการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย มุ่งสร้างความตระหนักให้กับผู้ประกอบการประมงตลอดสายการผลิต พร้อมกำชับให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบและกฎหมายที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด – นายลักษณ์ กล่าวต่อไปว่า ได้ติดตามการดำเนินการควบคุมการทำประมงของเรือประมงไทย ของศูนย์ควบคุมการแจ้งเข้า – ออกเรือประมง (Port In – Port Out : PIPO Control Center) ทั้งในด้านการตรวจเข้าออกเรือประมง ซึ่งในการดำเนินงานขั้นตอนต่าง ๆ
กรมประมงแจงข่าว...หลังชาวประมงร้องรัฐวางมาตรการเข้ม คุม..ประมงทั้งระบบ – นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า ปัญหาการค้ามนุษย์ในภาคประมงและปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย เป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญที่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการโดยเร่งด่วน เพื่อให้การดำเนินการแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในประเด็นข่าวดังกล่าว ที่ชาวประมงได้รับความเดือดร้อนจากมาตรการของภาครัฐ ทางกรมประมงขอชี้แจง ดังนี้ ?
คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 53/2559 เรื่อง การแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม – คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้มีคำสั่ง ที่ 53/2559 ลงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2559 เรื่อง การแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม เพิ่มเติมครั้งที่ 3 เพื่อแก้ไขปัญหาในการดำเนินการบริหารจัดการกับเรือประมงพาณิชย์ ที่มีการกระทำที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ
กระทรวงเกษตรฯ เผย คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 53/2559 เรื่อง การแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม เพิ่มเติมครั้งที่ 3 – ด้าน นางอุมาพร พิมลบุตร รองอธิบดีกรมประมง กล่าวเพิ่มเติมว่า คสช. จึงออกคำสั่งเพื่อกำหนดแนวทางในการควบคุมเรือประมงที่ไม่มีทะเบียนเรือ หรือมีทะเบียนเรือแต่ไม่มีใบอนุญาตทำการประมง จะต้องแจ้งจุดจอดเรือที่ชัดเจนและให้อำนาจแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ของกรมเจ้าท่าในการล๊อคพังงา (เครื่องมือบังคับเรือ)
รัฐมนตรีเกษตรฯ ชี้ยังไม่ได้รับใบเหลือง-ใบแดงในการแก้ปัญหาประมงจากอียูตามที่มีกระแสข่าว – นอกจากนี้ รมว.เกษตรฯ ยังได้กล่าวเพิ่มเติมถึง กรณีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง มีคำพิพากษาในคดีฮั้วประมูลซื้อปุ๋ยของกระทรวงเกษตร ของอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และนายวิทยา เทียนทอง อดีตเลขานุการ และอดีต ส.ส.สระแก้ว ว่า ถือเป็นบทเรียนสำคัญของข้าราชการที่ต้อง ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ทั้งนี้ ได้กำชับให้ผู้บริหารหน่วยงานในสังกัดทุกกรม
ไทย-ไต้หวัน จับมือเร่งเดินหน้าทำความตกลงด้านการประมง เพื่อแก้ไขปัญหาไอยูยู ภาคเอกชนไต้หวันขานรับมาตรการตรวจสอบย้อนกลับและเอกสารรับรองการจับปลาทูน่าก่อนส่งไทย มุ่งเป้าปลดล็อกใบเหลืองระหว่างกัน – ทั้งนี้ ในเบื้องต้นทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องกันที่จะทำข้อตกลงร่วมกันในการแก้ไขปัญหาประมงไอยูยู โดยสาระสำคัญของข้อตกลงฯ คือ ทั้งสองประเทศจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการตรวจสอบย้อนกลับระหว่างกัน
กระทรวงเกษตรฯ เดินหน้าผสานความร่วมมือด้านประมง 7 ประเทศ หวังเร่งแก้ปัญหา IUU รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ และการค้าขายประมงระหว่างกันอย่างยั่งยืน – ซึ่งโดยรวมมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย (IUUF) ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ การถ่ายทอดเทคโนโลยี และส่งเสริมการค้าสินค้าประมงระหว่างกัน พลเอก ฉัตรชัย กล่าวเพิ่มเติมว่า ล่าสุดทางสเปนมีความประสงค์จะมีความร่วมมือด้านประมงกับไทย