แนะเกษตรกรพิจิตร ปลูกอ้อยโรงงาน และ มะพร้าว ทดแทนพื้นที่นาไม่เหมาะสม – นายคมสัน จำรูญพงษ์ รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงผลการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสินค้าที่สำคัญ (Zoning) โดย Agri - Map จังหวัดพิจิตร โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 12 จังหวัดนครสวรรค์ (สศท.12) ดำเนินการวิเคราะห์สภาพทางกายภาพร่วมกับสภาพทางเศรษฐกิจ
“ปลัดเกษตรฯ” ขอความร่วมมือเกษตรกร ชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาและผู้ใช้น้ำทุกภาคส่วนใช้น้ำอย่างประหยัด เนื่องจากฝนที่ตกลงมาล่าช้ากว่าปกติ คาดฝนจะมาปกติในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม – นายชวลิต กล่าวต่อไปว่า ได้มีการประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเร่งจัดทำรายงานข้อเท็จจริงถึงสถานการณ์น้ำในเขื่อน รวมถึงแนวทางการบริหารจัดการน้ำ โดยจะนำเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมชลประทาน ออกประกาศ งดส่งน้ำทำนาปรังลุ่มน้ำเจ้าพระยา เหตุน้ำต้นทุนมีน้อยมาก ไม่เพียงพอ – ทั้งนี้ จากการติดตามสภาพฝนตั้งแต่ในช่วงต้นฤดูฝนปี 2557 เป็นต้นมา พบว่าทั่วทุกภาคของประเทศไทย มีปริมาณฝนตกน้อยกว่าค่าเฉลี่ย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ภาคเหนือและภาคกลาง ซึ่งเป็นที่ตั้งของลุ่มน้ำเจ้าพระยา ส่งผลให้มีน้ำไหลเข้าเขื่อนน้อย ในขณะที่ยังต้องระบายน้ำจากเขื่อน เพื่อส่งน้ำมาเสริมน้ำฝนให้กับพื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปีมากกว่าปกติ
รัฐมนตรีเกษตรฯ ย้ำไม่ห่วงท่วมหลังลงพท.ติตตามสถานการณ์น้ำจ.อยุธยา เหตุระดับน้ำผ่านจ.นครสวรรค์ลดต่อเนื่อง ห่วงแล้งเยือน สั่งหน่วยงานเกี่ยวข้องเร่งเสนอแผนระยะสั้นเร่งด่วนภายใน 2 สัปดาห์ รับมือผลกระทบพท.เพาะปลูกพืชฤดูแล้งหลังประเมินปริมาณน้ำเก็บกับยังต่ำกว่าเ – สำหรับสถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ที่เป็นแหล่งน้ำต้นทุนของลุ่มน้ำเจ้าพระยา ล่าสุดที่เขื่อนภูมิพล จ.ตาก มีปริมาณน้ำ 5,047 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 37 ของความจุอ่างฯ มีปริมาณน้ำใช้การได้