Best Korea เอาใจสะใภ้มโนหน้าใส
จัด Exclusive Meet & Greet เจ้าขุน-เจ้านาย – ภายในงาน 2 พิธีกรอารมณ์ดี เอกกี้-เอกชัย และ อ้น-ศรีพรรณ เปิดตัว 2
Aug 2018
เตือนภัยโรคใบขาวอ้อย – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม เปิดเผยว่า จากการสำรวจติดตามสถานการณ์โรคและแมลงศัตรูอ้อย พบว่าในพื้นที่อำเภอกสุมพิสัย นาดูนและอำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม กำลังประสบกับปัญหาโรคใบขาวอ้อยแพร่ระบาด สร้างความเสียหายให้กับผลผลิตอ้อย ในแหล่งปลูกที่สำคัญของจังหวัด ซึ่งสาเหตุโรคใบขาวอ้อย เกิดจากเชื้อ "ไฟโตพลาสมา" ที่ติดมากับท่อนพันธุ์อ้อย
การผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มา – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่า เป็นเชื้อราที่มีสีเขียว เจริญได้ดีในดินและบนเศษซากอินทรีย์ วัตถุตามธรรมชาติ เป็นปฏิปักษ์และปรสิตต่อเชื้อราที่เป็นสาเหตุโรคพืชหลายชนิด ทั้งพืชไร่ ไม้ผล พืชผัก และ ไม้ดอกไม้ประดับ ชอบสภาพที่มีความชื้น เจริญและสร้าง เส้นใยและสปอร์ครอบคลุมพื้นที่บริเวณรากพืชได้อย่างรวดเร็ว สามารถสร้างปฏิชีวนสาร
รับขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี ๒๕๕๗ – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่า ที่ผ่านมากรมส่งเสริมการเกษตรมอบหมายให้สำนักงานเกษตรจังหวัดรับขึ้นทะเบียนเกษตรกรเพื่อออกใบรับรองการขึ้นทะเบียนของเกษตรกรที่มีความประสงค์จะเข้าร่วมโครงการต่างๆตามนโยบายภาครัฐ แต่ในปี ๒๕๕๗/๕๘ ได้เปลี่ยนแปลงหลักกการจากการรับรองเกษตรกร
เตือนภัยโรคใบขาวอ้อย – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม เปิดเผยว่า จากการสำรวจติดตามสถานการณ์โรคและแมลงศัตรูอ้อย พบว่าในพื้นที่อำเภอกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม กำลังประสบกับปัญหาโรคใบขาวอ้อยแพร่ระบาด แม้จะยังไม่อยู่ในระดับที่รุนแรง แต่ส่อเค้าที่จะสร้างความเสียหายให้กับผลผลิตอ้อย ในแหล่งปลูกที่สำคัญของจังหวัด ซึ่งสาเหตุโรคใบขาวอ้อย เกิดจากเชื้อ "ไฟโตพลาสมา" ที่ติดมากับท่อนพันธุ์อ้อย
จังหวัดมหาสารคาม ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ติวเข้มหลักสูตร Q อาสามุ่งสู่การพัฒนา Smart Farmer – เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวต่อไปว่า การฝึกอบรมครั้งนี้จะเป็นการบรรยาย การอภิปราย และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยทีมวิทยากรที่เป็นผู้จัดทำเนื้อหาของหลักสูตร Q อาสา และผู้ที่ผ่านหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการเป็นวิทยากร เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่สำคัญของหลักสูตร Q อาสา
ลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่าการระบาดของศัตรูพืชนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากลักษณะปลูกพืชทีเป็นพื้นที่กว้างติดต่อกันนาน การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชปริมาณมากทำให้แมลงศัตรูธรรมชาติตาย ศัตรูพืชกลับมาระบาดซ้ำได้ ขณะเดียวกัน สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้ศัตรูพืชขยายปริมาณเพิ่มมากขึ้นและเกิดการพัฒนาสายพันธุ์ที่ต้านทานต่อสภาพอากาศ
มาตรการควบคุมปริมาณข้าวเปลือก ข้าวสาร และเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูกปี ๒๕๕๗ – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่า กรมส่งเสริมการเกษตรแจ้งว่า คณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) กรมการค้าภายใน ได้ออกประกาศ กกร. เรื่องการกำหนดสินค้าและบริการควบคุม ปี ๒๕๕๗ กำหนดให้ข้าวเปลือก ข้าวสาร เป็นสินค้าควบคุม และได้กำหนดมาตรการควบคุมการแจ้งปริมาณสถานที่เก็บและจัดทำบัญชีคุมสินค้าข้าวเปลือก ข้าวสาร
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านวังโพน – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่า การทำนาปลูกข้าวเป็นอาชีพหลักของเกษตรกร ซึ่งทำไว้เพื่อเก็บไว้บริโภคในครัวเรือนส่วนที่เหลือก็จะนำไปขาย พันธุ์ข้าวที่นำมาปลูกส่วนมากจะเป็นพันธุ์ข้าวเหนียวพันธุ์พื้นเมืองเดิม แต่เนื่องจากพันธุ์ข้าวที่ใช้ผลผลิตที่ได้ไม่เพียงพอ ขาดคลนเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพ เกษตรกรจึงได้มีการรวมตัวกันเริ่มแรกมีสมาชิก ๒๕ คน
เกษตรแนะปลูกพืชลดผลกระทบภัยแล้ง – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่าปัญหาภัยแล้งเป็นปัญหาที่สำคัญที่สุดในการทำการเกษตร เนื่องจากน้ำเป็นปัจจัยสำคัญในการปลูกพืช ถ้าพืชขาดน้ำเป็นระยะเวลานานจะทำให้พืชเกิดอาการเหี่ยวเฉาและตาย ซึ่งทำให้เกษตรกรไม่ได้รับผลผลิตและขาดทุนในที่สุด ทางออกในการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง
เกษตรเตือนเผาฟางข้าวดินเสื่อมโลกร้อน – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่าในช่วงนี้เกษตรกรหลายพื้นที่ในจังหวัดมหาสารคาม มีการเผาตอซังข้าวตามทุ่งนา เนื่องจากเชื่อกันว่าจะทำให้ไถนาได้ง่ายขึ้น และไม่มีวัชพืช ส่งผลให้มีควันเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะการเผาตอซังริมถนนอาจบดบังทัศนวิสัยและเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได้ สำนักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคามจึงได้ฝากเตือนเกษตรกรไม่ให้เผาตอซังฟางข้าว
พัฒนาคุณภาพข้าวหอมมะลิด้วยระบบ GAP – เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวต่อไปว่า การดำเนินงานครั้งนี้ จังหวัดมหาสารคามได้อนุมัติงบประมาณกว่า ๗ ล้านบาท (๗,๗๑๐,๐๐๐ บาท) ให้สำนักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคามดำเนินการ รวม ๙ กิจกรรมประกอบด้วย ๑.การส่งเสริมการผลิตข้าวพันธุ์ดี ๒.การถ่ายทอดความรู้ตามกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี ๓.การศึกษาและทดสอบสารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ยหรือสารเฮอร์บากรีน
เตือนภัยโรคใบจุดสีน้ำตาลข้าว – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่า ได้รับแจ้งจากกรมการข้าวถึงการระบาดของโรคใบจุดสีน้ำตาล ในพื้นที่จังหวัดนครนายกและจังหวัดพิษณุโลก เนื่องจากสภาพอากาศเหมาะสมต่อการแพร่ระบาดของโรค เมื่อลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วในแปลงนาของเกษตรกร อาการของโรคจะแผลที่ใบข้าว พบมากในระยะแตกกอมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาล รูปกลมหรือรูปไข่ ขอบนอกสุดของแผลมีสีเหลือง
พลิกวิกฤตแล้งปลูกฟักทองสร้างรายได้ – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม สถานการณ์น้ำอ่างเก็บน้ำโดยรวมในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม ทั้ง 17 แห่งมีระดับเก็บกักไม่ถึงร้อยละ 50 รวมถึงอ่างเก็บน้ำโคกก่อต้นน้ำลำห้วยคะคาง จึงต้องงดการส่งน้ำให้เกษตรกรปลูกข้าวนาปรัง เกษตรกรผู้ใช้น้ำจึงต้องพลิกวิกฤตเป็นโอกาสหันไปปลูกฟักทองทดแทนการปลูกข้าวนาปรัง โดยนางกัญญาภัทร แก้วกาหลง เกษตรกร บ้านโคกก่อ อำเภอเมืองมหาสารคาม
สถานการณ์ผลิตอ้อยและน้ำตาล – ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการอ้อยระดับท้องถิ่น เขต 25 จังหวัดมหาสารคาม ได้เรียกประชุมคณะอนุกรรมการอ้อยชุดดังกล่าว เพื่อติดตามสถานการณ์อ้อยและน้ำตาลในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รวมถึงการร่วมกันพิจารณางบประมาณโครงการพัฒนาด้านอ้อย ปี 2557จำนวน 280,600 บาท ที่เสนอขอต่อคณะกรรมการอ้อยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการไร่อ้อยในพื้นที่นาไม่เหมาะสม แต่ยังไม่ได้รับการอนุมัติ