ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2562 (ตุลาคม 2561 – สิงหาคม 2562) – หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 12 กันยายน 2562 ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3558, 3563
ผลของการอนุมัติงบประมาณปี 2562 ต่อเศรษฐกิจและปัญหาฐานะการคลังในอนาคต และ ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลหลังเลือกตั้งเพื่อการปฏิรูประบบงบประมาณ – ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้แสดงความเห็นหลังจากงบประมาณปี พ.ศ. 2562 จำนวน 3.3 ล้านล้านบาทผ่านการอนุมัติโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติโดยใช้เวลาเพียง 3 ชั่วโมงว่า เป็นกระบวนการจัดทำงบประมาณที่ขาดการตรวจสอบถ่วงดุล
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 – นายพรชัยฯ สรุปว่า "ฐานะการคลังในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 อยู่ในระดับที่เข้มแข็ง โดยเงินคงคลังมีจำนวนทั้งสิ้นกว่าสามแสนล้านบาท เพียงพอสำหรับรองรับการเบิกจ่ายงบประมาณและสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่อง" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 หน่วย:ล้านบาท 8 เดือนแรกของ เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2561 ปีงบประมาณ 2560 จำนวน ร้อยละ 1.
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 – นางสาวกุลยาฯ สรุปว่า "การเบิกจ่ายงบประมาณในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ซึ่งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกันรัฐบาลยังคงบริหารเงินคงคลังให้อยู่ในระดับที่เพียงพอ เพื่อรองรับการเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของปีงบประมาณ" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 หน่วย:ล้านบาท 7 เดือนแรกของ
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2561 – นางสาวกุลยาฯ สรุปว่า "ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2561 อยู่ในระดับที่เข้มแข็ง โดยเงินคงคลังของรัฐบาลอยู่ในระดับที่เพียงพอ สามารถรองรับการเบิกจ่ายที่คาดว่าจะเร่งตัวขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปีงบประมาณ 2561" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2561 หน่วย:ล้านบาท ครึ่งปีแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2561 ปีงบประมาณ 2560 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 – นางสาวกุลยาฯ สรุปว่า "ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 ยังคงอยู่ในระดับที่เข้มแข็งเพียงพอต่อการเบิกจ่าย ทั้งนี้ รัฐบาลสามารถจัดเก็บรายได้สูงขึ้นและสามารถเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณโดยเฉพาะรายจ่ายลงทุนได้สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว เพื่อสนับสนุนให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 5
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 – นางสาวกุลยาฯ สรุปว่า "ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 ยังคงอยู่ในระดับที่เข้มแข็ง โดยรัฐบาลยังคงให้ความสำคัญในการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2561 หน่วย:ล้านบาท 4 เดือนแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2561 ปีงบประมาณ 2560 จำนวน ร้อยละ 1.
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2561 – นางสาวกุลยาฯ สรุปว่า "ภาพรวมการเบิกจ่ายงบประมาณในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2561 เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะต่อไป" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2561 หน่วย: ล้านบาท ไตรมาสแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ2561 ปีงบประมาณ2560 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 551,400 549,742 1,658 0.3 2. รายจ่าย 967,456 969,105
ฐานะการคลังของรัฐบาลเดือนตุลาคม 2560 – นายสุวิชญฯ สรุปวา ""ฐานะการคลังในเดือนตุลาคม 2560 อยู่ในระดับที่เข้มแข็ง โดยเงินคงคลังมีจำนวนทั้งสิ้นกว่าสามแสนล้านบาท เพียงพอสำหรับการรองรับการเบิกจ่ายงบประมาณและสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้"" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดประจำปีงบประมาณ 2561 หน่วย: ล้านบาท เดือนตุลาคม เปรียบเทียบ 2560 2559 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 183,814 151,054 32,760 21.7 2.
ฐานะการคลังของรัฐบาลประจำปีงบประมาณ 2560 – 1. การจัดทำงบประมาณประจำปี 2560 รัฐบาลได้มุ่งเน้นการจัดทำงบประมาณขาดดุลเพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้มีความต่อเนื่องและเพิ่มงบลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก โดยมีโครงสร้างงบประมาณ ดังนี้ ประมาณการรายรับ 2,370,078 ล้านบาท ประมาณการรายจ่าย 2,923,000 ล้านบาท กู้เงินชดเชยการขาดดุล 552,922 ล้านบาท 2. การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลนั้น
ฐานะการคลังของรัฐบาลประจำปีงบประมาณ 2560 – นายสุวิชญฯ สรุปว่า "ฐานะการคลังในปีงบประมาณ 2560 ยังคงมีความเข้มแข็งโดยมีระดับเงินคงคลังที่มากกว่า 5 แสนล้านบาท และสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 82,000 ล้านบาท ซึ่งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินนโยบายการคลังของรัฐบาลในปีงบประมาณต่อไป
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า "เงินคงคลังในปัจจุบันที่มีจำนวนกว่าสามแสนล้านบาท และสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนอยู่ประมาณ 12,000 ล้านบาท สะท้อนให้เห็นถึงฐานะการคลังที่เข้มแข็งและพอเพียงสำหรับการดำเนินนโยบายการคลังเพื่อสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจในช่วงต่อไป" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 หน่วย: ล้านบาท 11 เดือน เปรียบเทียบ
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า "การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณของรัฐบาลในช่วงที่ผ่านมา ได้ส่งผลดีต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจช่วงครึ่งแรกของปี 2560 ที่ขยายตัวได้ถึงร้อยละ 3.5 ทั้งนี้ กระทรวงการคลังจะติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณในช่วงที่เหลือ เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 – นายกฤษฎาฯ สรุปวา "ในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 ฐานะการคลังของรัฐบาลยังอยู่ในระดับที่เข้มแข็ง ส่งผลให้รัฐบาลสามารถดำเนินนโยบายการคลังเพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่อง" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 หน่วย: ล้านบาท 9 เดือน เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2559 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 1,742,827 1,808,649 (65,822)
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า "การเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณของรัฐบาลในช่วง 8 เดือนแรกได้กว่า 2.0 ล้านล้านบาท ซึ่งสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้วถึงร้อยละ 2.5 โดยเฉพาะรายจ่ายลงทุนที่เพิ่มสูงขึ้นกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 8.1 สะท้อนถึงบทบาทของรัฐบาลในการกระตุ้นเศรษฐกิจในด้านต่าง ๆ และคาดว่าการเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณในช่วงที่เหลือของปีงบประมาณจะช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัวได้ตามที่คาดไว้"
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า "รัฐบาลให้ความสำคัญกับการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ โดยในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 สามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้กว่า 1.8 ล้านล้านบาท หรือร้อยละ 56.9 ของวงเงินงบประมาณ สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 1.6 โดยเฉพาะในส่วนของรายจ่ายลงทุนที่สามารถเบิกจ่ายได้เพิ่มสูงขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 13.0 ซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวได้ตามเป้าหมายที่คาดไว้"
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2560 – นายกฤษฎาฯ สรุปวา "ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2560 ฐานะการคลังของรัฐบาลยังคงอยู่ในระดับที่เข้มแข็ง ในขณะที่ระดับเงินคงคลังของรัฐบาลเพิ่มสูงขึ้นจากการบริหารเงินสดเพื่อรองรับการเบิกจ่ายที่คาดว่าจะเร่งตัวขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปีงบประมาณ 2560" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2560 หน่วย: ล้านบาท ครึ่งแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2559 จำนวน
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 – นายกฤษฎาฯ สรุปวา "การเบิกจ่ายงบประมาณของรัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณกว่า 1.38 ล้านบาท ซึ่งสูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว แสดงถึงความพยายามของรัฐบาลในการเร่งรัดเบิกจ่ายของงบประมาณ และในขณะเดียวกันรัฐบาลยังคงบริหารเงินคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 หน่วย: ล้านบาท 5 เดือนแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2560
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 – นายกฤษฎาฯ สรุปวา "ในช่วง 4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 รัฐบาลยังคงบริหารเงินคงคลังให้อยู่ระดับที่เหมาะสม โดยไม่เป็นภาระงบประมาณและยังสามารถรองรับการใช้จ่ายของรัฐบาลได้ตามปกติ" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560หน่วย: ล้านบาท 4 เดือนแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2559 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 715,481 735,903 (20,422) (2.8) 2. รายจ่าย
ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดประจำเดือนพฤศจิกายน 2559 และในช่วง 2 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2559) – 1. ฐานะการคลังเดือนพฤศจิกายน 2559 1.1 รัฐบาลมีรายได้นำส่งคลัง จำนวน 203,805 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 25,409 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 14.2) ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการนำส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจสูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 1.2 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินงบประมาณทั้งสิ้น จำนวน 175,712 ล้านบาท
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 2 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า "ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 2 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 ยังคงอยู่ในระดับที่เข้มแข็งเพียงพอต่อการเบิกจ่าย ทั้งนี้ รัฐบาลสามารถจัดเก็บรายได้สูงขึ้นและสามารถเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณโดยเฉพาะรายจ่ายลงทุนได้สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีและยังจะเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินนโยบายการคลังเพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะต่อไป"
ฐานะการคลังรัฐบาลยังอยู่ในระดับที่เข้มแข็ง – ทั้งนี้ การเคลื่อนไหวของระดับเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2559 ที่เป็นเดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 ถือเป็นแนวโน้มปกติเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนๆ และยังอยู่ในระดับที่แข็งแกร่งและสามารถรองรับการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลในระยะต่อไป โดยมีระดับเงินคงคลังจำนวน 235,805 ล้านบาท ทั้งนี้ มีสาเหตุหลักมาจาก
ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดประจำเดือนตุลาคม 2559 – 1. รัฐบาลมีรายได้นำส่งคลัง จำนวน 154,465 ล้านบาท ต่ำกว่าเดือนเดียวกันปีที่แลว 1,874 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 1.2) ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการจัดเก็บอากรขาเข้าต่ำกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 2. รัฐบาลมีการเบิกจายเงินงบประมาณทั้งสิ้น จำนวน 435,355 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว จำนวน 61,154 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 16.3) โดยมีการเบิกรายจ่ายปีปัจจุบัน จำนวน 422,383 ล้านบาท
ฐานะการคลังของรัฐบาลเดือนตุลาคม 2559 – นายกฤษฎาฯ สรุปวา "การเบิกจ่ายงบประมาณในเดือนแรกของปีงบประมาณที่อยู่ในระดับสูง ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากมาตรการสนับสนุนการเบิกจ่ายของภาครัฐในไตรมาสที่ 4 ปี 2559 ซึ่งจะส่งผลให้มีเม็ดเงินเข้าสู่ระบบและเป็นผลดีต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดเดือนตุลาคม 2559 หน่วย: ล้านบาท เดือนตุลาคม เปรียบเทียบ 2559 2558 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 154,465 156,339 (1,874) (1.2) 2.
ฐานะการคลังของรัฐบาลปีงบประมาณ 2559 – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า "ฐานะการคลังในปีงบประมาณ 2559 ยังมีความเข้มแข็งโดยมีระดับเงินคงคลังที่มากกว่า 4 แสนล้านบาท ซึ่งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินนโยบายการคลังของรัฐบาลในการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะต่อไป" ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดปีงบประมาณ 2559หน่วย: ล้านบาท ปีงบประมาณ เปรียบเทียบ 2559 2558 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 2,411,525 2,206,981 204,544 9.3 2. รายจ่าย