อิลลูมินาเปิดตัวโครงการส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพระดับโลก เพื่อช่วยเร่งการหาลำดับเบสในประเทศรายได้ต่ำและปานกลาง – อิลลูมินา อิงค์ (Illumina Inc.) (NASDAQ: ILMN) ผู้นำด้านเทคโนโลยีถอดรหัสพันธุกรรมและการหาลำดับเบสของดีเอ็นเอ ประกาศเปิดตัวโครงการส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพระดับโลก (Global Health Access Initiative) เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงเครื่องมือหาลำดับเบสเพื่อใช้ในวงการสาธารณสุขในประเทศรายได้ต่ำและปานกลาง (LMIC)
TCELS ผนึกรามาฯ ม.นเรศวร ผุดแอพลิเคชั่นพัฒนาการถอดรหัสพันธุกรรม – ศ ดร. วสันต์ จันทราทิตย์ หัวหน้าศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ รพ. รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า การวิจัยด้านจีโนมมนุษย์ได้พัฒนาก้าวเข้ามาสู่จุดที่สามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ด้านการแพทย์เพื่อการป้องกัน ดูแล และรักษาโรคต่างๆให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกานายบารัก โอบามา ถึงกับกำหนดเป็นวาระแห่งชาติในการแถลงเปิดสภาฯประจำปี 2558
“ไทย – ญี่ปุ่น” ร่วมวิจัยวัณโรคดื้อยาทั้งในเชื้อและคนพร้อมกัน ครั้งแรกในอาเซียน – นายแพทย์อภิชัย มงคล อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวภายหลังการร่วมลงนามข้อตกลงโครงการวิจัยการแก้ไขปัญหาวัณโรคกับรัฐบาลญี่ปุ่นว่า วัณโรคเป็นโรคติดต่อเรื้อรังของระบบทางเดินหายใจที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยและกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งในแต่ละปีมีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทยประมาณ 80,000 ราย และเสียชีวิตประมาณ 5,000 – 6,000 ราย
ผู้ป่วยมะเร็งไหลตายออทิซึมเตรียมเฮนักวิจัยพบทางรักษาหลังถอดรหัสพันธุกรรมสำเร็จ – กรุงเทพฯ--18 ม.ค.--ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ ผู้ป่วยมะเร็ง-ไหลตาย-ออทิซึม เตรียมเฮ เวทีประชุมนานาชาติด้านเภสัชพันธุศาสตร์และการรักษาเฉพาะบุคคล ระดมสมองถอดรหัสพันธุกรรมหายีนผิดปกติก่อโรคและยีนก่อให้เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา เตรียมเดินหน้าศึกษาต่อเนื่องแบบจัดเต็ม ขณะที่ อิเหนารับเป็นภาพจัดประชุมปีหน้า ชูไทย แม่งานใหญ่ในฐานะเป็นประเทศแรกที่นำผลวิจัยไปใช้อย่างได้ผลจริงก่อนใคร
เปิดห้องปฏิบัติการถอดรหัสพันธุกรรมคนไทย – กรุงเทพฯ--3 มิ.ย.--TCELS แม้ว่าการรักษาด้วยยา จะเป็นแนวทางหลักที่ใช้ในการบำบัดรักษาโรคและความเจ็บป่วย แต่ผลการรักษาด้วยยาอาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (adverse drug reaction; ADR) ซึ่งหมายถึง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยมิได้ตั้งใจ เมื่อใช้ยาในขนาดปกติ เพื่อการป้องกัน วินิจฉัย บำบัดรักษาโรค และเพื่อเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงานของกลไกต่างๆ ในร่างกายมนุษย์ ซึ่งมักเรียกว่า
TCELS ผนึกรามาถอดรหัสพันธุกรรมคนไทยเป็นครั้งแรกที่ละเอียดที่สุด – กรุงเทพฯ--11 พ.ค.--TCELS TCELS ร่วมกับ รพ.รามาธิบดี เตรียมถอดรหัสพันธุกรรมคนไทยเป็นครั้งแรกที่ละเอียดที่สุดถึง 3 พันล้านเบส จากดีเอ็นเอชายไทยสุขภาพดี เดือนมิถุนายนนี้ เพื่อเป็นเข็มทิศในการรักษาโรคที่รักษาไม่หายให้หายได้ รวมทั้งบ่งชี้ตัวยาที่เหมาะเฉพาะบุคคล และจะพัฒนาไปสู่ชุดตรวจในอนาคต พร้อมเผย เตรียมร่วมมือกับมหาวิทยาลัยวอชิงตัน ศึกษายาทั้งโครงสร้างที่ได้รับรองจาก อย.สหรัฐ
ไนอ๊อกซิน ถอดรหัสพันธุกรรม เพื่อลดความเสี่ยงผมร่วงผมบาง อนาคตใหม่สำหรับการดูแลเส้นผมและหนังศีรษะ – กรุงเทพฯ--22 ธ.ค.--แฟรนคอม เอเซีย สถาบันวิจัย ไนอ๊อกซิน (Nioxin) เผยถึงผลสำเร็จในการถอดรหัสพันธุกรรม เพื่อหาแนวโน้มปัญหาศีรษะล้านในผู้ชาย ซึ่งการทดสอบทางพันธุกรรมครั้งนี้จะช่วยแจ้งเตือนถึงความเป็นไปได้ก่อนที่ปัญหาผมบาง ศีรษะล้านจะเกิดขึ้น การคิดค้นการตรวจพันธุกรรมครั้งนี้เป็นความร่วมมือระหว่าง Nioxin ผู้นำด้านการดูแลหนังศีรษะและเส้นผมชั้นนำระดับโลก
หนุนอนุรักษ์พันธุ์ “ปลาบึก” สร้างเทคโนโลยี ถอดรหัสพันธุกรรม – กรุงเทพฯ--3 ก.ค.--สกว. หนุนอนุรักษ์พันธุ์ “ปลาบึก” ศึกษาเทคโนโลยีถอดรหัสพันธุกรรม ป้องกันการผสมพันธุ์ในสายเลือดเดียวกัน ชี้ยังค้นพบ การลบล้างความเชื่อเดิมๆเรื่องปลาบึกไทยไปเติบโตในต่างแดน พร้อมวิจัยต่อเนื่องเพื่อพัฒนาสายพันธุ์ปลาบึกไทยเพื่อการเพาะเลี้ยงที่ดีขึ้นต่อไป ปลาบึก เป็นปลาน้ำจืดไม่มีเกล็ดที่ใหญ่ที่สุดในโลกพบที่เดียวในแม่น้ำโขง
ม.มหิดลและสาธารณสุขจัดประชุมโครงการถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์ต่อการแพทย์และสาธารณสุขไทย – กรุงเทพฯ--20 ธ.ค.--ม.มหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข ระดมสมองนักวิชาการนานาชาติแก้ไขผลกระทบโครงการถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์ต่ออนาคตการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทย และประเทศในภูมิภาคเอเชีย ศาสตราจารย์ นายแพทย์พรชัย มาตังคสมบัติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า การจัดประชุมวิชาการนานาชาติเฉลิมฉลอง 10 ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เรื่อง
สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยจัดบรรยาย เรื่อง ฮิวแมนจีโนมโปรเจ็กต์ โครงการถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์ – กรุงเทพฯ--19 มี.ค.--สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ด้วยชมรมนักเขียนและผู้จัดทำหนังสือวิทยาศาสตร์ (นจวท.) สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จะจัดการบรรยายเรื่อง "ฮิวแมนจีโนมโปรเจ็กต์ โครงการถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์" จากศาสตราจารย์ ดร. ประพนธ์ วิไลรัตน์ รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี