CGTN: การเติบโตของจีนจะกระตุ้นเศรษฐกิจโลกให้ฟื้นตัวในปี 2566 – การดำเนินนโยบายทางการคลังและการเงินแบบตึงตัวเพื่อชะลอภาวะเงินเฟ้อในหลายประเทศ ประกอบกับการชะงักงันของห่วงโซ่อุปทานและการผลิตเชิงอุตสาหกรรมที่ลดลง ยิ่งบั่นทอนแนวโน้มทางเศรษฐกิจในระดับโลกสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (Institute of International Finance) ในวอชิงตัน ดีซี คาดการณ์ว่าการเติบโตของเศรษฐกิจโลกจะต่ำ แต่จะมีการเติบโตสุทธิเป็นบวกที่ราว 1.2% ในปี 2566
ซาอุดีอาระเบียประกาศแผนงบประมาณปี 2565 มุ่งเน้นการยกระดับภาคบริการ ความยั่งยืนทางการคลัง และการส่งเสริมภาคเอกชน – ในโอกาสนี้ ฯพณฯ โมฮัมหมัด อัล-จาดาน รัฐมนตรีกระทรวงการคลัง ได้แสดงการขอบคุณผู้อารักขามัสยิดศักดิ์สิทธิ์ทั้งสอง ได้แก่ กษัตริย์ซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ และเจ้าชายโมฮัมหมัด บิน ซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ ผู้เป็นมกุฎราชกุมาร รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีกลาโหม ที่ได้อนุมัติงบประมาณดังกล่าว ทั้งนี้ อัล-จาดานชี้ว่า
ขยายกรอบเพดานหนี้สาธารณะ…คาดไม่กระทบเสถียรภาพทางการคลังในระยะสั้น แต่ระยะยาวต้องหารายได้เพิ่ม – วิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดจากสถานการณ์โควิดส่งผลให้สัดส่วนหนี้สาธารณะไทยคาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นเกือบ 20% ของ GDP ณ สิ้นปี 2564 ก่อนวิกฤติ ระดับหนี้สาธารณะอยู่ที่ 41.7% ต่อGDP แต่หลังจากเกิดวิกฤติโควิด-19 ภาครัฐได้มีการใช้จ่ายเพื่อบรรเทาผลกระทบจากโควิด-19 ผ่านทางมาตรการทางการคลัง โดยผ่านแหล่งเงินงบประมาณประจำปี 2563-2564 และ พรก.กู้เงิน 1 ล้านล้านบาท และการกู้เงินจาก
เสนอปฏิรูประบบภาษีลดภาระชนชั้นกลางและคนจน – เสนอเก็บภาษีลาภลอยเพื่อความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และ นำเงินมาใช้จ่ายพัฒนาประเทศ 14.00 น. 29 ก.ค. 2562 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฎิรูป สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และ ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า
ประเมินผลของมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจรัฐบาลใหม่และโจทย์ใหม่ของภาคส่งออกไทย – โจทย์ใหม่ภาคส่งออกไทย ผลกระทบสงครามการค้าสหรัฐฯยุโรป การเจรจาเพื่อแก้ปัญหาข้อพิพาททางการค้าจีนสหรัฐฯล่าช้า มีความตึงเครียดและตอบโต้ทางการค้าระหว่างญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ ระบบการค้าเสรีของโลกกำลังถูกสั่นคลอนด้วยการขยายตัวของลัทธิกีดกันทางการค้าจะส่งผลให้เศรษฐกิจโลกโดยรวมชะลอตัวเพิ่มมากขึ้น ทั่วโลกส่งสัญญาณลดดอกเบี้ย ไทยจำเป็นต้องผ่อนคลายนโยบายการเงินมากขึ้น
บทเรียนครบรอบ 22 ปีวิกฤตการณ์เศรษฐกิจปี 2540: วิกฤติเศรษฐกิจจะซ้ำรอยหรือไม่? – สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และ ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประเมินบทเรียนและวิเคราะห์วิกฤตการณ์เศรษฐกิจปี 2540 เทียบกับปัจจุบัน ปี 2562 และอนาคตเนื่องในโอกาสครบรอบ 22 ปีวิกฤติปี 2540 (2 ก.ค.) ว่า
งานสัมมนาวิชาการ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ครั้งที่ 15 ประจำปี 2561 – สศค. ได้รับเกียรติจากนายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ "นโยบายการคลังในยุคเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง" โดยกล่าวถึงความสำคัญของการนำพาเศรษฐกิจไทยไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล และแนวนโยบายของกระทรวงการคลังในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการส่งเสริม 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย
งานสัมมนาวิชาการของสำนักงานเศรษฐกิจการคลังประจำปี 2561 “เทคโนโลยีทางการคลัง (Fiscal Technology : FisTech)” – การสัมมนาในครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นผู้กล่าวปาฐกถาเปิดงาน จากนั้นจะเป็นการนำเสนอผลงานทางวิชาการของ สศค. เรื่อง ยกเครื่องข้อมูล ยกคนพ้นจน โดยข้าราชการรุ่นใหม่ของ สศค. ที่จะมานำเสนอเกี่ยวกับการดำเนินการลดความยากจนในประเทศไทยผ่านมาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
งานสัมมนาวิชาการของสำนักงานเศรษฐกิจการคลังประจำปี 2561 “เทคโนโลยีทางการคลัง (Fiscal Technology : FisTech)” – โดยในปีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 15 ภายใต้หัวข้อ "เทคโนโลยีทางการคลัง (Fiscal Technology : FisTech)" ในวันพุธที่ 1 สิงหาคม 2561 เวลา 08.30 – 15.30 น. ณ ห้องแอทธินี คริสตัล ฮอลล์ โรงแรม ดิ แอทธินี โฮเทล แบงค็อก อะ ลักซ์ชูรี คอลเล็คชั่น โฮเทล เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ เพื่อเป็นเวทีในการนำเสนอแนวคิดเชิงนโยบายของข้าราชการ สศค.
งานสัมมนาวิชาการของสำนักงานเศรษฐกิจการคลังประจำปี 2561 “เทคโนโลยีทางการคลัง (Fiscal Technology : FisTech)” – การสัมมนาในครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นผู้กล่าวปาฐกถาเปิดงาน จากนั้นจะเป็นการนำเสนอผลงานทางวิชาการของ สศค. เรื่อง ยกเครื่องข้อมูล ยกคนพ้นจน โดยข้าราชการรุ่นใหม่ของ สศค. ที่จะมานำเสนอเกี่ยวกับการดำเนินการลดความยากจนในประเทศไทยผ่านมาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
สบน. ชี้แจงมาตรการช็อปช่วยชาติในประเด็นความเสี่ยงทางการคลัง – สำหรับมาตรการ "ช็อปช่วยชาติ" เป็นมาตรการระยะสั้นที่รัฐบาลดำเนินการเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ในการซื้อสินค้าและรับบริการในช่วงปลายปี 2560 ซึ่งจะทำให้เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นนอกจากนี้ จะช่วยขยายฐานภาษี อันจะส่งผลดีต่อการจัดเก็บรายได้ภาษีในระยะยาว ทั้งนี้ การดำเนินนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล กระทรวงการคลังได้รักษาวินัยทางการคลังอย่างเคร่งครัด โดยคำนึงถึงกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ปัจจุบัน
ฐานะการคลังรัฐบาลยังอยู่ในระดับที่เข้มแข็ง – ทั้งนี้ การเคลื่อนไหวของระดับเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2559 ที่เป็นเดือนแรกของปีงบประมาณ 2560 ถือเป็นแนวโน้มปกติเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนๆ และยังอยู่ในระดับที่แข็งแกร่งและสามารถรองรับการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลในระยะต่อไป โดยมีระดับเงินคงคลังจำนวน 235,805 ล้านบาท ทั้งนี้ มีสาเหตุหลักมาจาก
งานสัมมนา ปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ – 14 พ.ค. 2558 ที่โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวชั่น เสวนาทางวิชาการ “ผ่าแผนปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ วิกฤตหรือโอกาสประเทศไทย” การเสวนาทางวิชาการจัดโดย สมาพันธ์รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์และเครือข่าย มีวิทยากรดังนี้ คุณกุลิศ สมบัติศิริ ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร) ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการและคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ ม. รังสิต รศ. ดร. ณรงค์
สมาคมชาวไร่หนุนโรงงานยาสูบเสนอ คสช. นำงบ สสส. และไทยพีบีเอสเข้าระบบงบประมาณ สอดคล้องนโยบายขุนคลังคนใหม่ ปฏิรูปกองทุนนอกงบประมาณสร้างวินัยทางการคลัง – นายสมนึก ยิ้มปิ่น ผู้จัดการสมาคมชาวไร่ยาสูบเบอร์เล่ย์จังหวัดสุโขทัย กล่าวว่า “สมาคมชาวไร่ยาสูบฯ เห็นด้วยอย่างยิ่งกับข้อเสนอของโรงงานยาสูบ เพราะกองทุนนอกงบประมาณแบบนี้ผิดหลักวินัยทางการคลัง การจัดสรรเงินต่างๆ
ดร.ลาฟเฟอร์เปิดตัวหนังสือคู่มือภาษียาสูบระหว่างประเทศ ช่วยรัฐบาลจัดทำโรดแมปในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี – เนื่องจากภาษีสรรพสามิตมีความสำคัญมากยิ่งขึ้นทั่วโลก ดร.อาร์เธอร์ ลาฟเฟอร์ จึงได้เปิดตัวหนังสือคู่มือภาษียาสูบระหว่างประเทศ พร้อมกับชี้ว่า “ไม่มียาสารพัดโรค” สำหรับนโยบายภาษียาสูบ และนำเสนอตัวอย่างของรัฐบาลที่มีผลการดำเนินงานที่ดีและกรณีศึกษาเพื่อพิจารณาเรื่องการเพิ่มรายได้จากภาษีสรรพสามิตบุหรี่
Thai PBO วิเคราะห์ประชานิยม “รถคันแรก” การคลังไม่รอบคอบ – นโยบายประชานิยมอย่างโครงการจำนำข้าวที่ขาดทุนมหาศาล ส่งผลให้เกิดคำถามตามมาว่าโครงการประชานิยมอื่นๆจะมีผลกระทบหรือลงเอยอย่างโครงการจำนำข้าวหรือไม่ โจทย์คือในระบอบประชาธิปไตย ประชาชนจะจัดการกับนโยบายประชานิยมที่มีต้นทุนสูงเหล่านี้กับสังคมได้อย่างไร และหากมีสำนักงบประมาณประจำรัฐสภา(Thai PBO) เข้ามาช่วยวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง