ผลสำเร็จธนาคารโคนมทดแทนฝูง เกษตรกรเข้าร่วมกว่า 500 ราย ช่วยลดภาระ ลดต้นทุนและเพิ่มรายได้ – นางสาวจริยา สุทธิไชยา เลขาธิการ สศก. เปิดเผยว่า จากการติดตามผลการดำเนินโครงการธนาคารโคนมทดแทนฝูง พบว่า มีการดำเนินงานในลักษณะฟาร์มรวม และบริหารโดยสหกรณ์ซึ่งรับฝากลูกโค - โครุ่น มาไว้ที่ฟาร์มกลางของสหกรณ์ เพื่อเลี้ยงดูตามหลักวิชาการ ให้อาหารที่เหมาะสมตามช่วงวัย ส่งผลให้โคมีการเจริญเติบโตและสมบูรณ์กว่าการเลี้ยงเองที่ฟาร์มของเกษตรกร
กรมส่งเสริมสหกรณ์ สรุปภาพรวมความสำเร็จโครงการธนาคารสินค้าเกษตรของสหกรณ์ทั่วประเทศ ช่วยเกษตรกรลดต้นทุนการผลิตลงกว่า 17 % – นายเชิดชัย พรหมแก้ว รองอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ สรุปผลความก้าวหน้าโครงการธนาคารสินค้าเกษตร ซึ่งเป็นนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มอบหมายให้ดำเนินการตั้งแต่ปี 2560 ว่า โครงการดังกล่าวมีเป้าหมายยกระดับธนาคารสินค้าเกษตรให้สามารถบริการได้หลากหลาย โดยให้ธนาคารเปิดบริการรับฝาก ถอน ให้ยืม แลกเปลี่ยนปัจจัยการผลิต อุกปกรณ์การเกษตร การตลาด
แจงผลธนาคารสินค้าเกษตร เกษตรกรมั่นใจรูปแบบบริหารดี หนุนให้มีธนาคารสินค้าเกษตรในชุมชนต่อ – นายสุรพงษ์ เจียสกุล เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึง ผลการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตรปี 2559 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนินงานทั้งหมด 5 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ (กรมพัฒนาที่ดิน) ธนาคารข้าวสถาบันเกษตรกร (กรมส่งเสริมสหกรณ์) ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน (กรมการข้าว) ธนาคารโคนมทดแทนฝูง
กระทรวงเกษตรฯ โดย กรมส่งเสริมสหกรณ์ เดินหน้าตั้งธนาคารสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร เตรียมขยายธนาคารหม่อนไหมใน จ.นครราชสีมาและอุตรดิตถ์ – สำหรับธนาคารโค - กระบือ เพื่อเกษตรกรตามพระราชดำริ ได้ร่วมกับกรมปศุสัตว์ กำหนดแผนงานบริหารจัดการโค-กระบือ ใน 73 จังหวัด มอบสิทธิ์ให้เกษตรกร 5,000 ราย จำนวน 109,000 ตัว ขณะนี้ได้ดำเนินการมอบสิทธิ์บริหารจัดการโค-กระบือไปแล้ว 7,880 ราย คิดเป็น 157.60% ของเป้าหมาย
กรมส่งเสริมสหกรณ์เดินหน้าตั้งธนาคารสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร เตรียมขยายธนาคารหม่อนไหมในจังหวัดนครราชสีมาและอุตรดิตถ์ – ดร.วิณะโรจน์ ทรัพย์ส่งสุข อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ เปิดเผยถึงความคืบหน้าในการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งกรมส่งเสริมสหกรณ์เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบโครงการธนาคารสินค้าเกษตร ซึ่งได้กำหนดแผนการดำเนินงานไว้ 6 แผนงาน ได้แก่ ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว ธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร ธนาคารโคนมทดแทน ธนาคารโค-กระบือ
เปิดผลติดตามธนาคารสินค้าเกษตร สศก.เผย คณะกรรมการฯ มาจากเกษตรกรในชุมชน เข้าใจปัญหาได้ดี – นางสาวจริยา สุทธิไชยา รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยถึงผลการติดตามโครงการธนาคารสินค้าเกษตร ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดำเนินงานรวม 5 ธนาคาร ประกอบด้วย 1) ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน โดยกรมการข้าว 2) ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ โดยกรมพัฒนาที่ดิน 3) ธนาคารโค – กระบือ โดยกรมปศุสัตว์ 4) ธนาคารโคนมทดแทนฝูง