กทม. จัดสรรงบฯ จัดซื้อนมโรงเรียนในสังกัด พร้อมกำกับดูแลการส่งมอบ-รับมอบให้มีคุณภาพ – นอกจากนี้ ได้กำชับสำนักงานเขตที่รับผิดชอบในการจัดซื้อนมโรงเรียนให้แก่นักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ประถมศึกษาของโรงเรียนในสังกัด โดยให้ความสำคัญและเข้มงวดในขั้นตอนการส่งมอบและรับมอบนมโรงเรียน เพื่อให้การดำเนินงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน สอดคล้องและเป็นไปตามข้อเสนอแนะของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ช.ช.)
กระทรวงเกษตรฯ Set Zero นมโรงเรียนทั้งระบบ เน้นบริหารจัดการอย่างมีเอกภาพ ปรับแผนดำเนินการให้ทันก่อนเปิดเทอมนี้ – "ระบบและกลไกใหม่นี้เน้นการกระจายอำนาจการจัดสรรโควต้าลงกลุ่มพื้นที่เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเกิดความเป็นธรรมในการบริหารจัดการนมโรงเรียน โดยบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และลดปัญหาการมีผลประโยชน์ทับซ้อน อย่างไรก็ตามเรื่องนี้เป็นเรื่องใหม่ องค์กรเกษตร สหกรณ์ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม
กระทรวงเกษตรฯ เตรียมเสนอ ครม. ทบทวนระบบบริหารจัดการนมโรงเรียน และให้ใช้แนวทางการปฏิรูประบบบริหารจัดการโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน – 2) ให้ อ.ส.ค. ทำหน้าที่แทนองค์กรกลางระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย เช่นเดิม แต่ให้กรมปศุสัตว์เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำระบบ Big Data มาใช้บริหารจัดการนมทั้งระบบ 3) ให้งบประมาณกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นและหน่วยจัดซื้อเช่นเดิม แต่ให้สำนักงบประมาณจัดสรรงบบริหารจัดการ ไม่น้อยกว่า 3%
กระทรวงเกษตรฯ เดินหน้าสางระบบนมโรงเรียน เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เกษตรกรและผู้ประกอบการได้รับความเป็นธรรมอย่างทั่วถึง – นอกจากนี้ ได้มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไปศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบบริหารจัดการนมโรงเรียนเพิ่มเติม โดยให้กรมปศุสัตว์ไปสำรวจจำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ว่ามีการกระจายอยู่ทั่วทั้ง 6 ภาคหรือไม่ และมีปริมาณการผลิตนมเท่าไหร่ ซึ่งกระทรวงเกษตรฯ
รัฐมนตรีเกษตรฯ มอบคณะกรรมการจัดสรรโควต้านมโรงเรียน ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ขอส่งนมโรงเรียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย หวังให้เด็กนักเรียนได้ดื่มนมที่มีคุณภาพ – อย่างไรก็ตาม ได้สั่งการให้กรมปศุสัตว์ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อสค.) และกรมส่งเสริมสหกรณ์ ตรวจสอบคุณสมบัติและเอกสารต่าง ๆ ของผู้ยื่นขอส่งนมโรงเรียนทั้งเก่าและใหม่ให้ถูกต้อง รวมถึงประวัติการส่งนมโรงเรียนของผู้ส่งนมที่ผ่านมาว่าได้ทำตามกฎกติกาถูกต้องแล้วหรือยัง
สหกรณ์ฯไทยมิลค์ร่อนจดหมายขอโทษ – นสพ.สรวิศ ธานีโต รักษาการอธิบดีกรมปศุสัตว์ ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการบริหารจัดการโครงการอาหารเสริม(นม)โรงเรียน กล่าวว่า เมื่อวันที่ 8 มิ.ย. 61 ที่ผ่านมา นายเชวงศักดิ์ สงวนวงศ์วิจิตร ประธานกรรมการสหกรณ์โคนมไทยมิลค์ จำกัด อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ได้ทำหนังสือขอโทษกับกรณีที่จัดส่งให้โรงเรียนมีปัญหาคุณภาพผิดปกติไปยัง นายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
“ปลัดเกษตรฯ มอบนโยบายให้ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นมและผู้รับจ้างขนส่งนมโรงเรียน พร้อมเร่งดำเนินการตามแผนพัฒนาการบริหารจัดการนมโรงเรียนทั้งระบบ เตรียมส่งนมคุณภาพดีให้นักเรียนในการเปิดภาคเรียนที่ 1/2560 – สำหรับการประชุมในครั้งนี้ ประกอบด้วยผู้ประกอบการนมโรงเรียนและผู้รับจ้างขนส่งนมโรงเรียน 350 รายทั่วประเทศ เพื่อชี้แจงให้มีความเข้าใจและปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินงานโครงการอาหารเสริม(นม)โรงเรียน ภาคเรียนที่ 1/2560
กระทรวงเกษตรฯ มุ่งหวังเพิ่มคุณภาพและมาตรฐานของนมโรงเรียนให้สูงขึ้น พร้อมจัดสรรโควตาให้เกิดความเป็นธรรม โปร่งใสกับผู้ประกอบการ เพื่อประโยชน์แก่นักเรียน เกษตรกร และสหกรณ์ – ดร.ณรงค์ฤทธิ์ วงศ์สุวรรณ ผู้อำนวยการองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) กล่าวเพิ่มเติมว่า ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ) มีนโยบายในการเพิ่มคุณภาพและมาตรฐานนมโรงเรียนให้สูงขึ้น ภายในปี 2560
กระทรวงเกษตรฯ เผยความคืบหน้าตรวจสอบนมโรงเรียนโผล่กัมพูชา และเด็กนักเรียน จ.ขอนแก่น ป่วยหลังดื่มนม จี้คณะกรรมการทั้งในส่วนกลางและระดับจังหวัด เร่งรวบรวมหลักฐานและตรวจสอบข้อเท็จจริงอย่างละเอียดก่อนสรุปผลเร็ว ๆ นี้ – ขณะที่การติดตามตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีที่เด็กนักเรียน จ.ขอนแก่น ได้ดื่มนมโรงเรียนแล้วมีอาการป่วยนั้น ทางกระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการตรวจสอบทั้งด้านคุณภาพน้ำนม น้ำดื่ม และอาหาร ที่เด็กนำไปบริโภค ซึ่งข้อมูลจะส่งมาในวันพรุ่งนี้
กระทรวงเกษตรฯ ยืนยันกระบวนการผลิตนมโรงเรียนมีคุณภาพมาตรฐานตลอดสายการผลิต แจงเหตุนมบูด 50 กล่อง เพราะระบบจัดเก็บไม่ได้มาตรฐานและอากาศร้อนจัด เร่งให้ข้อแนะนำการจัดเก็บเรียงนมที่มีคุณภาพมาตรฐานให้กับโรงเรียน – ส่วนกรณีที่มีข่าวว่า โรงเรียนอนุบาลอุดมพันธ์ จังหวัดร้อยเอ็ด มีนมกล่อง ยู เอช ที ขนาด 200 ซีซี จำนวน 259 หีบ (จำนวน 9,320 กล่อง) บูดเสียนั้น นายณรงค์ฤทธิ์ วงศ์สุวรรณ ผู้อำนวยการองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) กล่าวว่า
กระทรวงเกษตรฯ เร่งเดินหน้าแก้ไขปัญหาและพัฒนาการบริหารจัดการนมโรงเรียนทั้งระบบ ก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1/2559 – ด้านการดำเนินนโยบายแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ 1. ด้านการผลิต ได้มีการจัดทำแผนยกระดับฟาร์มตามหลักเกณฑ์การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มโคนม (Good Agricultural Practice: GAP) โดยมีเป้าหมายการดำเนินงานครบถ้วน 100% ภายในภาคเรียนที่ 2/2560 ซึ่งปัจจุบันมีฟาร์มทั้งหมดจำนวน 16,770 ฟาร์ม ที่ผ่านเกณฑ์ GAP แล้วจำนวน 4,025 ฟาร์ม คิดเป็น 24%
รัฐมนตรีฯ เกษตร แจงคืบหน้าแผนการบริหารจัดการโครงการ นมโรงเรียน มิลล์บอร์ดออกประกาศหลักเกณฑ์ แนวทางการปฏิบัติ ในภาคเรียนที่ 2 เข้มมาตรการควบคุม ตั้งแต่น้ำนมดิบ ฟาร์มโคนม ผู้ประกอบการ การขนส่งและการเก็บรักษา – การดำเนินการตามประกาศดังกล่าวเป็นแนวทางที่สำคัญในการพัฒนาการบริหารโครงการตามนโยบายฯ ผลจากการดำเนินงานจะทำให้นักเรียนได้รับผลิตภัณฑ์นมที่ยกระดับคุณภาพนมทั้งด้านองค์ประกอบของน้ำนมและความสะอาด รวมถึงสุขอนามัยและความสะอาดของแหล่งผลิต
รัฐมนตรีเกษตรฯ แจงแนวทางการพัฒนาโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเพิ่มคุณภาพและมาตรฐานของนมโรงเรียนให้สูงขึ้นภายในปี 2560 – 1. เพิ่มความเข้มข้นของนม (Total solid) ที่นำมาใช้ผลิตนมโรงเรียน จากปัจจุบันอยู่ที่ระดับ 11.5% จะต้องเพิ่มเป็น 12% ในภาคเรียนที่จะถึงนี้ (เทอม 2/2558) และ จะต้องมีความเข้มข้นของนม ที่ระดับ 12.5% ในภาคเรียนต่อไปตามลำดับ ภายในปี 2560 2. ฟาร์มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการนมโรงเรียน จะต้องปรับปรุงมาตรฐานฟาร์ม