ข่าวประชาสัมพันธ์นโยบายการคลัง | newswit

ประธานสมาคมธนาคารไทย สนับสนุนแก้ปัญหาเศรษฐกิจนอกระบบ
ประธานสมาคมธนาคารไทย สนับสนุนแก้ปัญหาเศรษฐกิจนอกระบบ
ขับเคลื่อน Green Transition ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างโอกาส SMEs เติบโตยั่งยืน – ความใหญ่ของเศรษฐกิจนอกระบบนั้น 02 Sep
บล. ซีจีเอส-ซีไอเอ็มบี ร่วมกับ
บล. ซีจีเอส-ซีไอเอ็มบี ร่วมกับ
ธ. ซีไอเอ็มบี ไทย ออกโปรโมชั่นผลตอบแทน 11.11% ต่อปี เอาใจนักลงทุนสายหุ้น Equity Linked Note อายุ 6 เดือน เริ่ม 11 Nov 2021
ขยายกรอบเพดานหนี้สาธารณะ…คาดไม่กระทบเสถียรภาพทางการคลังในระยะสั้น แต่ระยะยาวต้องหารายได้เพิ่ม – วิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดจากสถานการณ์โควิดส่งผลให้สัดส่วนหนี้สาธารณะไทยคาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นเกือบ 20% ของ GDP ณ สิ้นปี 2564 ก่อนวิกฤติ ระดับหนี้สาธารณะอยู่ที่ 41.7% ต่อGDP แต่หลังจากเกิดวิกฤติโควิด-19 ภาครัฐได้มีการใช้จ่ายเพื่อบรรเทาผลกระทบจากโควิด-19 ผ่านทางมาตรการทางการคลัง โดยผ่านแหล่งเงินงบประมาณประจำปี 2563-2564 และ พรก.กู้เงิน 1 ล้านล้านบาท และการกู้เงินจาก
ฐานะการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ไตรมาสที่ 3 (เมษายน – มิถุนายน 2562) และในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2562 –
ฐานะการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ไตรมาสที่ 2 (มกราคม – มีนาคม 2562) และในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2562 –
บล.ไทยพาณิชย์ มองแนวโน้มตลาดหุ้นไทย
บล.ไทยพาณิชย์ มองแนวโน้มตลาดหุ้นไทย
ปี 2561 คึกคัก เดินหน้าเต็มสูบ ด้วยปัจจัยสนับสนุนจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ มั่นใจ SET index ปลายปีแตะ 1900 จุด – Jan 2018
MPPM NIDA แนะรัฐเร่งเบิกจ่ายงบปี
MPPM NIDA แนะรัฐเร่งเบิกจ่ายงบปี
61 หวังกระจายเงินลงรากหญ้า ช่วยกระตุ้น ศก.โค้งสุดท้ายปลายปี – รศ.ดร.มนตรี โสคติยานุรักษ์ Nov 2017
KTAM ขอเชิญร่วมงานสัมมนา “นโยบายการคลัง
KTAM ขอเชิญร่วมงานสัมมนา “นโยบายการคลัง
พลิกฟื้นเศรษฐกิจไทย ครึ่งปีหลัง” – สามารถดูรายละเอียดได้ที่ > Sep 2017
KTAM จัดงานสัมมนา “นโยบายการคลัง พลิกฟื้นเศรษฐกิจไทย ครึ่งปีหลัง” –
พิธีเปิด หลักสูตรนักการคลังมืออาชีพ
พิธีเปิด หลักสูตรนักการคลังมืออาชีพ
รุ่นที่ 7 โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ณ โรงแรมโฟร์วิงส์ สุขุมวิท 26 – May 2017
บล.เอเชีย เวลท์ ชี้ปัจจัยต่างประเทศยังกดดันตลาดหุ้นไทย
บล.เอเชีย เวลท์ ชี้ปัจจัยต่างประเทศยังกดดันตลาดหุ้นไทย
คาดผลประกอบการ Q4 ของไทยออกมาดี พร้อมแนะนำหุ้น TISCO – นายวรุตม์ ศิวะศริยานนท์ กรรมการผู้จัดการ Jan 2017
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยจะดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง – 1. เครื่องชี้วัดทางเศรษฐกิจล่าสุดแสดงให้เห็นว่าเศรษฐกิจยังขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ทั้งในส่วนของการบริโภคภาคเอกชน การใช้จ่ายภาครัฐ รายได้เกษตรกร และดัชนีความเชื่อมั่นต่างๆ ของผู้บริโภคและภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งพร้อมรองรับความผันผวนทางเศรษฐกิจได้ ภาพรวมเศรษฐกิจมีเสถียรภาพสูงทั้งภายในและภายนอกโดยเห็นได้จากอัตราเงินเฟ้อและอัตราว่างงานที่ต่ำ
เศรษฐกิจไทยยังคงมีทิศทางขยายตัวต่อเนื่อง – จากข่าวที่ปรากฏเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2559 ว่า เศรษฐกิจไทยในช่วงปลายปีจะทรุดหนัก เนื่องจากการบริโภคภายในประเทศลดต่ำลงตามรายได้ประชาชนที่ลดลง การลงทุนภาคเอกชนยังอยู่ในระดับต่ำ และจำนวนนักท่องเที่ยวมีปริมาณลดลงมาก นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ในฐานะรองโฆษกกระทรวงการคลัง ได้แถลงข่าวชี้แจงว่า ข้อมูลดังกล่าวมีความคลาดเคลื่อนและไม่ตรงกับข้อเท็จจริง โดยมีรายละเอียดสรุปได้ ดังนี้ 1.
ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ไตรมาสที่ 2 (มกราคม – มีนาคม 2559) และในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2559 –
ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม – ธันวาคม 2558) – 1. ฐานะการคลังภาครัฐบาล ภาครัฐบาลมีรายได้รวม 749,901 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 44,944 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.4 ประกอบด้วยรายได้รัฐบาล 578,548 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 47,697 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.0 โดยสาเหตุหลักมาจากการจัดเก็บภาษีน้ำมันที่สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว
ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ไตรมาสที่ 4 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) และปีงบประมาณ 2558 – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า "รัฐบาลดำเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุล เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ และยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนอย่างต่อเนื่อง" ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ไตรมาสที่ 4 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) และปีงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558) 1.
รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังประจำเดือนตุลาคม 2558 – นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยรายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังประจำเดือนตุลาคม 2558 ว่า "เศรษฐกิจไทยในเดือนตุลาคม 2558 มีปัจจัยบวกจาก ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจที่เริ่มปรับตัวดีขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากนโยบายรัฐบาลที่สนับสนุนการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศ และบทบาทนโยบายการคลังผ่านการลงทุนภาครัฐที่ขยายตัวได้ในระดับสูง
ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ไตรมาสที่ 3 (เมษายน – มิถุนายน 2558) และในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2558 – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า "รัฐบาลดำเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุล เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ และยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน" ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ไตรมาสที่ 3 (เมษายน – มิถุนายน 2558) และในช่วง 9 เดือนแรก (ตุลาคม 2557 – มิถุนายน
ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2558 – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า “การใช้จ่ายภาคสาธารณะยังคงเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยอย่างต่อเนื่อง”ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2558 (ตุลาคม – ธันวาคม 2557) ฐานะการคลังภาคสาธารณะช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2558 (ตุลาคม – ธันวาคม 2557)
สถานการณ์เศรษฐกิจและผลการดำเนินนโยบายของกระทรวงการคลัง“นโยบายการคลังช่วยสนับสนุนการเติบโตเศรษฐกิจไทย” – 1. เศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัวในช่วงครึ่งหลังของปี 2557 เศรษฐกิจไทยได้รับผลกระทบเป็นอย่างมากจากวิกฤติการเมืองในช่วงครึ่งแรกของปี 2557 ทำให้การใช้จ่ายภายในประเทศหดตัว อีกทั้งในขณะนั้นรัฐบาลไม่สามารถเบิกจ่ายงบประมาณและดำเนินมาตรการขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้ ประกอบกับเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม หลังจากที่สถานการณ์การเมืองปรับตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2557
ฐานะการคลังภาคสาธารณะ ไตรมาสที่ 4 และตลอดปีงบประมาณ 2557 ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) – นายกฤษฎาฯ สรุปว่า “การใช้จ่ายของภาคสาธารณะยังคงเป็นปัจจัยสำคัญหนึ่งที่สนับสนุนให้เศรษฐกิจไทยขยายตัว”
ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ไตรมาสที่ 3 (เมษายน – มิถุนายน 2557) และในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 – นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง แถลงฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบ สศค. (รัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และรัฐวิสาหกิจ) ในช่วง ไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2557 ว่า ภาคสาธารณะเกินดุลการคลัง 149,516 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 1.2 ของ GDP)
ฐานะการคลังภาคสาธารณะ (รัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ) ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง – นายสมชัย สัจจพงษ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลังในฐานะโฆษกระทรวงการคลัง แถลงฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบ สศค. (รัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และรัฐวิสาหกิจ) สำหรับไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2557 (ตุลาคม – ธันวาคม 2556) ว่า
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 – นายสมชัยฯ สรุปว่า “ในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 เงินคงคลังยังอยู่ในระดับที่เข้มแข็ง โดยมีอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณสูงกว่าเป้าหมายเล็กน้อย ส่งผลให้ภาครัฐยังเป็นกลจักรสำคัญ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ” ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 หน่วย: ล้านบาท 5 เดือนแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ 2556 ปีงบประมาณ2555 จำนวน ร้อยละ 1. รายได้ 785,479
ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบสถิติเพื่อการศึกษา และวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค. หรือ GFS) ปีงบประมาณ 2556 – นายสมชัยฯ สรุปว่า “แม้ว่ารัฐบาลจะจัดทำงบประมาณแบบขาดดุลในปีงบประมาณ 2556 แต่จากการที่รัฐบาลจัดเก็บรายได้เกินเป้าหมายและกองทุนนอกงบประมาณมีรายได้เพิ่มขึ้นมาก จึงส่งผลให้ฐานะการคลังภาคสาธารณะตามระบบ สศค. หรือ GFS เกินดุล 1.17 แสนล้านบาท” ฐานะการคลังภาคสาธารณะ (รัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ)
ภาพข่าว: ผอ.สศค.ปาฐกถาพิเศษในงานสัมมนาอนาคตประเทศไทย “ทิศทางเศรษฐกิจ-อสังหาฯ ไทยในสายตาผู้นำ” –
ผอ.สศค. เป็นประธานเปิดการสัมมนาวิชาการ นโยบายการคลังและการลงทุนภาครัฐต่อการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศ – กรุงเทพฯ--22 ต.ค.--กลุ่มการประชาสัมพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ผอ.สศค. เป็นประธานเปิดการสัมมนาวิชาการ "นโยบายการคลังและการลงทุนภาครัฐต่อการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศ" จัดโดยศูนย์ข้อมูลอสังหาฯ ธอส. วันอังคารที่ 22 ตุลาคม 2556 เวลา 09.00 น. ณ ห้องอินฟินิตี้บอลรูม โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ