87.1% มีการใช้บริการ OTT แบบเสียค่าสมาชิก เจอโฆษณาในการใช้บริการ OTT แบบเสียค่าสมาชิก 25.6% – ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิงห์ สิงห์ขจร ประธานคณะกรรมการศูนย์สำรวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ กล่าวว่า ผลการสำรวจในครั้งนี้เรื่องการให้บริการเนื้อหาวิดีโอโดยการสตรีมผ่านอินเทอร์เน็ต (OTT) คือการให้บริการเนื้อหาสื่อรายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ วีดิโอ ผ่านโครงข่ายอินเทอร์เน็ต การบริการผ่าน แพลตฟอร์ม และเป็นแบบin app purchase คือ
คน กทม ไปเที่ยวซื้อของฝาก ราคา
100-500 บาท ใบชา น้ำพริก ข้าวหลาม มะขามสามรส ขนมเค้ก – และการซื้อของฝากจากการท่องเที่ยวของท่านได้มีการตรวจดูสลากสิ
Dec 2023
คน กทม 80 % เคยไปสะเดาะเคราะห์
87.5 % คิดว่าสะเดาะเคราะห์ทำให้ชีวิตดีขึ้น 73.6 % อยากให้รัฐควบคุมสถานที่สะเดาะเคราะห์เพื่อป้องกันการหลอกลวง –
Dec 2023
คน กทม. อยากได้ผู้ว่า กทม. และ
สก. ที่มีความซื่อสัตย์โปร่งใส อยากให้แก้ปัญหาคอรัปชั่น 32.2 % คิดว่ายังไม่มีบุคคลที่เหมาะสมที่จะเลือกเป็นผู้ว่า กทม.
Mar 2022
คน กทม 85.1 % เคยพบเห็นข่าวปลอม (Fake News) เจอข่าวปลอม (Fake News) จากเฟสบุ๊ค (Facebook) และเรื่องการเมืองมากสุด – ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิงห์ สิงห์ขจร ประธานคณะกรรมการศูนย์สำรวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ กล่าวว่า ผลการสำรวจในครั้งนี้ต้องการสะท้อนความคิดเห็นในเรื่องปัญหาข่าวปลอม (Fake News) ในอดีตปัญหาข่าวปลอม (Fake News) ไม่ได้ส่งผลกระทบกับสังคมในวงกว้างได้
กทม ส่งมอบความสุขปีใหม่ผ่าน LINE มากที่สุด ปีใหม่จะออมเงินให้มากขึ้น และอยากให้คนไทยเคารพ กม. – ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิงห์ สิงห์ขจร ประธานคณะกรรมการศูนย์สำรวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ กล่าวว่า ผลการสำรวจในครั้งนี้ต่อพฤติกรรมของคนกรุงเทพมหานครต่อเทศกาลปีใหม่ 2562 ว่าจะมีการส่งมอบความสุขปีใหม่ด้วยช่องทางการสื่อสารด้านใด การเลือกซื้อของขวัญปีใหม่เป็นสินค้าประเภทใด สถานที่ที่จะไปฉลองวันปีใหม่ คนที่จะไปร่วมฉลองปีใหม่
คน กทม เกินครึ่งเล็กน้อยรู้ว่า
ส.ส. มีหน้าที่ทำอะไร คิดว่าจะไปเลือกตั้ง ส.ส. 52.5 % อยากได้ ส.ส. ที่มีความซื่อสัตย์ และอยากให้เน้นนโยบายด้านเศรษฐกิจ
Dec 2018
คน กทม 56.2% เคยตรวจสอบข่าวปลอม (Fake News) เจอข่าวปลอม (Fake News) จากเฟสบุ๊ค (Facebook) และเรื่องการเมืองมากสุด – กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยพบเห็นข่าวปลอม (Fake News) ร้อยละ 65.1 และเคยตรวจสอบข้อมูลข่าวสารที่คิดว่าเป็นข่าวปลอม (Fake News) ร้อยละ 56.2 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ใช้วิธีการในการตรวจสอบข้อมูลข่าวสารที่คิดว่าเป็นข่าวปลอม (Fake News) โดยค้นหาจากแหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือ ร้อยละ 53.0