ไทย' ร่วมกับ 'FAO' จัดงาน IUU DAY หวังกระตุ้นให้เห็นคุณค่าของทรัพยากรประมง พร้อมแสดงความสำเร็จของรัฐบาลไทยในการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย – ปัจจุบันไทยได้ผลักดันการแก้ไขปัญหา IUU ของประเทศจนเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ อาทิ การผลักดันนโยบายประมงร่วมอาเซียน (ASEAN General Fisheries Policy) การเข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศ เช่น
กรมประมงแจงข้อเรียกร้อง หลังชาวประมงขู่งดจับปลาเตรียมตบเท้าเข้าทำเนียบ – นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่า การแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย ภาครัฐได้ดำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาการทำประมงที่ไม่ถูกต้องที่สั่งสมมาช้านานในทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงให้มีใช้อย่างยั่งยืน สำหรับ ข้อเรียกร้องดังกล่าวนั้น กรมประมงขอเรียนชี้แจงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมประมง ดังนี้ (1) ปัญหาการขาดแคลนแรงงานประมง
กรมประมงแจงภาครัฐดำเนินมาตรการสกัดกั้น ทุกกระบวนการทำประมงผิดกฎหมายอย่างเป็นระบบและเข้มงวด – นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่าคงต้องขอขอบคุณ ภาคประชาสังคมต่างๆ ที่มีความห่วงใย และตระหนักในความรับผิดชอบร่วมกันในการที่จะให้ "การประมงของไทยมีความยั่งยืน" โดยเฉพาะการทำศึกษาวิจัยที่ต้องใช้ความมุ่งมั่น ตั้งใจของนักวิจัยที่จะต้องดำเนินการศึกษาวิจัย อย่างครบถ้วน ครอบคลุม และถูกต้อง ตามหลักวิชาการ
“บิ๊กฉัตร” ไฟเขียวระบบตรวจเอกสารแจ้งเข้า-ออกศูนย์ PIPO เอื้อชาวประมง – วันนี้ ( 9 พ.ค.61) เวลา 14.30 น. พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย เปิดเผยภายหลังหารือร่วมกับ นายมงคล สุขเจริญคณา ประธานสมาคมการประมงแห่งประเทศไทย พร้อมนำคณะกรรมการสมาคมการประมงแห่งประเทศไทยชุดใหม่เข้าพบ ณ ห้องประชุม 302 ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล ว่า
ก.เกษตรฯ อนุญาตทำการประมงพาณิชย์รอบปีการประมง 2561 – 2562 – ทั้งนี้ เรือประมงพาณิชย์สามารถรับใบอนุญาตการทำประมงที่กำหนดรอบวันทำประมงรอบปี 2561 – 2562 ได้ที่สำนักงานประมงอำเภอ22 จังหวัดชายทะเลตั้งแต่วันพรุ่งนี้ (16 มี.ค.61) เป็นต้นไป ซึ่งใบอนุญาตเดิมจะหมดอายุในวันที่ 1 เมษายนนี้ "การเพิ่มวันทำประมงครั้งนี้ ถือเป็นความสำเร็จในการทำงานร่วมกันเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาประมงผิดกฎหมาย หรือไอยูยู ระหว่างรัฐบาล ชาวประมงพาณิชย์ ประมงพื้นบ้าน
“บิ๊กฉัตร”ส่งทูตวีระชัยนำทีมคณะผู้แทนไทยพร้อมภาคเอกชนผนึกกำลัง บุกเวทีประมงระดับโลกเสริมความเชื่อมั่นประมงไทยปลอดไอยูยู – สำหรับกิจกรรมภายในงานนอกจากการจัดแสดงสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงใหม่ๆ รวมทั้งการแปรรูป บรรจุภัณฑ์ บริการด้านสินค้าอาหารทะเล โซนนิทรรศการของหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการประมงของทั่วโลกแล้ว ยังมีกิจกรรมที่สำคัญ คือ การเสวนาเกี่ยวกับสถานการณ์ สถานะ ข้อมูลปัจจุบันด้านการประมงระดับภูมิภาคและระดับโลก
รัฐมนตรีช่วยเกษตรฯ ติดตามการปฏิบัติงานการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย มุ่งสร้างความตระหนักให้กับผู้ประกอบการประมงตลอดสายการผลิต พร้อมกำชับให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบและกฎหมายที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด – นายลักษณ์ กล่าวต่อไปว่า ได้ติดตามการดำเนินการควบคุมการทำประมงของเรือประมงไทย ของศูนย์ควบคุมการแจ้งเข้า – ออกเรือประมง (Port In – Port Out : PIPO Control Center) ทั้งในด้านการตรวจเข้าออกเรือประมง ซึ่งในการดำเนินงานขั้นตอนต่าง ๆ
“กฤษฎา” เผยศาลอาญาออกคำสั่งการพิจารณาพิพากษาคดีความผิดตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 เอื้อการบังคับใช้กฎหมายไทยตัดตอนประมงผิดกฎหมายเข้มข้นและรวดเร็ว – "ปัจจุบันศาลอาญาได้อำนวยความสะดวกในการบังคับใช้กฎหมายประมงซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 ก.พ.61 นั้น ทำให้การดำเนินคดีความผิดตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 ต่าง ๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างแน่นอน ดังนั้น ในการแก้ไขปัญหาเรื่องประมงไอยูยูทางกระทรวงเกษตรฯ ต้องขอขอบคุณศาลอาญาด้วยที่จัดระบบพิจารณาคดีให้รวดเร็วขึ้น
กรมประมงบูรณาการร่วมกรมเจ้าท่าและศปมผ. บริการเบ็ดเสร็จที่เดียวจบ! ในการออกใบอนุญาตทำการประมงพาณิชย์และการต่อใบอนุญาตใช้เรือรอบปีการประมง 2561 - 2562 – ดร.อดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่า เนื่องจากใบอนุญาตทำการประมงของเรือประมงพาณิชย์ในรอบปีการประมง 2559 - 2560 (1 เมษายน 2559 - 31 มีนาคม 2561) กำลังใกล้จะสิ้นสุด ดังนั้นเพื่อความต่อเนื่องของการทำการประมง กรมประมงจะเปิดให้ยื่นคำขอรับใบอนุญาตทำประมงพาณิชย์ได้ในระหว่างวันที่ 20
กระทรวงเกษตรฯ ประกาศความพร้อมเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรีเกษตรอาเซียนและกลุ่มประเทศบวกสาม เร่งยกระดับมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรในภูมิภาค โดยเฉพาะความเชื่อมั่นการแก้ไขปัญหาประมงผิดกฎหมายของอาเซียน พร้อมขยายผลศาสตร์พระราชาแก้ปัญหาภาคเกษตรยั่งยืน – ทั้งนี้ การประชุมดังกล่าวเป็นการประชุมประจำปีของรัฐมนตรีที่กำกับดูแลด้านการเกษตรและป่าไม้ของประเทศอาเซียน ประกอบด้วยสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ คือ บรูไน อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมา ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม
กรมประมงแจงข่าว...หลังชาวประมงร้องรัฐวางมาตรการเข้ม คุม..ประมงทั้งระบบ – นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า ปัญหาการค้ามนุษย์ในภาคประมงและปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย เป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญที่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการโดยเร่งด่วน เพื่อให้การดำเนินการแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในประเด็นข่าวดังกล่าว ที่ชาวประมงได้รับความเดือดร้อนจากมาตรการของภาครัฐ ทางกรมประมงขอชี้แจง ดังนี้ ?