พม. ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาขอทานตามหลัก ๓P เน้นคุ้มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไร้ที่พึ่ง คนขอทาน แบบยั่งยืน – ๑) Policy : ด้านนโยบาย ได้แก่ การขับเคลื่อน พ.ร.บ. การคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. ๒๕๕๗ การเสนอ (ร่าง) พ.ร.บ. การควบคุมขอทาน ซึ่งที่ผ่านมาที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างนายกรัฐมนตรีจะนำขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อลงพระปรมาภิไธยให้ประกาศใช้เป็นกฎหมาย และมีผลบังคับใช้
พม. เดินหน้าบูรณาการความร่วมมือแก้ไขปัญหาขอทานต่างด้าว – นายไมตรี กล่าวว่า กระบวนการจัดระเบียบขอทานต่างด้าวดำเนินการ ดังนี้ ๑) มีการเชิญตัวเพื่อบันทึกประวัติการขอทาน หลังจากนั้นนำส่งสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง จังหวัดนนทบุรี เพื่อให้การคุ้มครองชั่วคราว ก่อนนำส่งสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เพื่อส่งตัวกลับประเทศ ๒) กรณีที่พบว่ามีเด็กร่วมอยู่ด้วย มีการเชิญตัวเพื่อบันทึกประวัติการขอทาน หลังจากนั้นนำส่งสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดนนทบุรี
พม. ย้ำร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการขอทาน พ.ศ. .... ช่วยตัดวงจรการเข้าสู่ขบวนการค้ามนุษย์ – ๑) Policy การกำหนดและวางแผนนโยบายอย่างต่อเนื่อง ๒) Protection การคุ้มครองและช่วยเหลือคนขอทานอย่าง ครบวงจร ๓) Prevention การป้องกันปัญหาขอทานเพื่อไม่ให้กลับมาขอทานซ้ำอีก ทั้งนี้ ได้จัดทำบันทึก ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อความมั่นคงทางอาชีพและรายได้ ได้แก่ กระทรวงแรงงาน กรมการจัดหางาน สำนักการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
“มุมมองของประชาชนที่มีต่อปัญหาขอทานเด็กในสังคมไทยปัจจุบัน” – จากผลการสำรวจ เมื่อถามถึงความรู้สึกของประชาชนเมื่อพบเห็นขอทานที่เป็นเด็ก พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 65.00 มีความรู้สึกสงสาร ร้อยละ 35.66 รู้สึกอยากให้การช่วยเหลือ ร้อยละ 27.17 ระแวงว่าไม่ใช่ขอทานจริงๆ ร้อยละ 19.02 รู้สึกอยากให้เงิน /สิ่งของ ร้อยละ 16.07 รู้สึกว่าเป็นภาระสังคม ร้อยละ 6.80 รู้สึกรำคาญ และร้อยละ 5.00 รู้สึกเฉยๆ เมื่อสอบถามต่อไปว่าสิ่งที่จะทำหากขอทานเด็กมาขอเงิน พบว่า ตัวอย่าง
“มุมมองของประชาชนที่มีต่อปัญหาขอทานเด็กในสังคมไทยปัจจุบัน” – จากผลการสำรวจ เมื่อถามถึงความรู้สึกของประชาชนเมื่อพบเห็นขอทานที่เป็นเด็ก พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 65.00 มีความรู้สึกสงสาร ร้อยละ 35.66 รู้สึกอยากให้การช่วยเหลือ ร้อยละ 27.17 ระแวงว่าไม่ใช่ขอทานจริงๆ ร้อยละ 19.02 รู้สึกอยากให้เงิน /สิ่งของ ร้อยละ 16.07 รู้สึกว่าเป็นภาระสังคม ร้อยละ 6.80 รู้สึกรำคาญ และร้อยละ 5.00 รู้สึกเฉยๆ เมื่อสอบถามต่อไปว่าสิ่งที่จะทำหากขอทานเด็กมาขอเงิน พบว่า ตัวอย่าง
กทม. นัดหารือหน่วยงานเกี่ยวข้องเอาจริงแก้ปัญหาขอทานในพื้นที่ – กรุงเทพฯ--27 ม.ค.--กองประชาสัมพันธ์ กทม. กทม. นัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการแก้ไขปัญหาคนขอทานในพื้นที่กรุงเทพฯ หารือทบทวนคำสั่งกระทรวงแรงงานและสวัสดิการ เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.ควบคุมคนขอทาน พร้อมกำหนดแนวทางร่วมกันในการแก้ไขปัญหาคนขอทานในพื้นที่ คาดหลังหารือจะมีทิศทางการทำงานที่ชัดเจนร่วมกัน ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เปิดเผยว่า