กระทรวงเกษตรฯ เผยปริมาณน้ำใช้การได้ในฤดูแล้งมีมากกว่าที่ตั้งไว้ พร้อมเพิ่มการระบายน้ำออกจากเขื่อน แก้ปัญหาน้ำเค็มรุกล้ำกระทบเจ้าพระยา ปัจจุบันอยู่ในเกณฑ์ปกติแล้ว – นายสัญชัย เกตุวรชัย อธิบดีกรมชลประทาน กล่าวเพิ่มเติมว่า วันที่ 27 – 28 ก.พ. 60 ที่ผ่านมา น้ำเค็มขึ้นสูง เกิดจากคลื่นลมแรงจากตะวันออกเฉียงเหนือหรือสตอร์ม เซิร์จ (Storm Surge) พัดสู่อ่าวไทย ทำให้ปริมาณน้ำเค็มและน้ำทะเลยกตัวสูงขึ้นผลักดันเข้าไปในแม่น้ำเจ้าพระยาถึงสถานีสูบน้ำสำเหล่
กปภ.ย้ำน้ำเค็มรุก ไม่กระทบผลิตน้ำประปา – นายชุมพล โชคพงษ์อุดมชัย รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 4) รักษาการแทนผู้ว่าการ กปภ.เปิดเผยว่า หลายพื้นที่รับผิดชอบของ กปภ.ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งที่ยืดเยื้อ ยาวนานและรุนแรง ส่งผลให้เกิดน้ำทะเลหนุนสูงแหล่งน้ำดิบที่ กปภ.ใช้ผลิตน้ำประปาในขณะนี้ ได้แก่ กปภ.สาขาฉะเชิงเทรา บางปะกง บางคล้า และปราจีนบุรี ทำให้ค่าความเค็มหรือค่าคลอไรด์ในน้ำดิบสูง ซึ่ง กปภ.ใช้มาตรฐานเดียวกับที่องค์การอนามัยโลก (WHO)
กระทรวงเกษตรฯ ใจชื้น ฝนตกอย่างต่อเนื่องทั่วทุกภาค ส่งสัญญาณดีต่อ พท.ประสบภัยแล้งและปัญหาน้ำเค็มรุก เตรียมพร้อมให้เกษตรกรมีน้ำใช้ในฤดูกาลผลิตใหม่ พร้อมคลี่คลายปัญหาหมอกควันให้กลับสู่ภาวะปกติ – ขณะที่ปริมาณฝนตกในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเมื่อวานนี้ (17 พ.ค.59) มีปริมาณฝนประมาณ 60 มิลลิเมตร ส่งผลให้น้ำในเขื่อนศรีนครินทร์มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ส่วนเขื่อนวชิราลงกรณ์ ก็มีปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น
กระทรวงเกษตรฯ ชี้เตรียมพร้อมแผนรองรับสถานการณ์น้ำ พร้อมเร่งเดินหน้าแก้ปัญหาน้ำเค็ม และช่วยเหลือเกษตรกรสวนกล้วยไม้ ยืนยันหากใช้น้ำตามแผน มีน้ำใช้ถึงก.ค.นี้แน่นอน – พลเอก ฉัตรชัย กล่าวเพิ่มเติมว่า กรณีน้ำเค็มรุกแม่น้ำบางปะกง/ปราจีนบุรี ซึ่งหลายฝ่ายเกรงว่าจะสร้างปัญหาให้กับ จ.ปราจีนบุรี มีการรายงานสภาพความเค็มแม่น้ำปราจีนบุรี ณ อ.บ้านสร้าง มีค่าความเค็มยังไม่เกิน 1.0 กรัม/ลิตร ซึ่งใช้เป็นเกณฑ์เฝ้าระวัง ไม่ให้สูงกว่านี้
กปภ.จับมือกรมชลฯ แก้ปัญหาน้ำเค็มแปดริ้ว – นางรัตนา กิจวรรณ (กิด-จะ-วัน) ผู้ว่าการ กปภ.เปิดเผยว่าในช่วงต้นเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมาผู้ใช้น้ำหลายพื้นที่ใน จ.ฉะเชิงเทรา ได้รับความเดือดร้อนจากน้ำประปามีรสเค็ม เนื่องจากก่อนหน้านี้ปริมาณน้ำในคลองพระองค์เจ้าไชยานุชิตซึ่งเป็นแหล่งน้ำดิบที่ใช้ในการผลิตน้ำประปาของ กปภ.มีระดับน้ำลดลง ในช่วงฤดูแล้ง ประกอบกับน้ำทะเลที่หนุนเข้ามาทางแม่น้ำบางปะกงซึ่งเชื่อมต่อกับคลองพระองค์เจ้าฯ
กปภ. พร้อมรับมือน้ำเค็ม – นางรัตนา กิจวรรณ ผู้ว่าการ กปภ. กล่าวว่า จากสถานการณ์ภัยแล้งที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ส่งผลให้ระดับน้ำในแม่น้ำต่าง ๆ ลดลงอย่างรวดเร็วและในบางพื้นที่ประสบปัญหาน้ำเค็มหนุนสูง ส่งผลให้มีพื้นที่ให้บริการของ กปภ. เกิดปัญหาน้ำประปามีค่าความเค็มสูงขึ้นแต่ยังคงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานองค์การอนามัยโลก (WHO) ที่ยังสามารถใช้อุปโภคบริโภคได้ ซึ่งในขณะนี้เกิดผลกระทบใน 2 จังหวัด ได้แก่ จ.ปทุมธานี (กปภ.สาขาปทุมธานี รังสิต
TTW ยังคงรักษามาตรฐานน้ำประปา
แม้ประสบปัญหาน้ำเค็มรุกล้ำ – ด้านฝั่ง North Bangkok ดำเนินงานโดยบริษัทย่อยของบริษัทฯ (บจ.ประปาปทุมธานี หรือ PTW)
Feb 2014
หน้าแล้งนี้ กทม. และกรมชลประทาน ผนึกกำลังแก้ปัญหาน้ำเค็มให้เกษตรกร – กรุงเทพ--27 มี.ค.--สพช. นายโยธิน ทองคำ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาชุมชน กรุงเทพมหานคร เปิดเผยว่า เมื่อย่างเข้าสู่หน้าแล้งของทุกปีจะเปิดปัญหาน้ำเค็มไหลทะลักเข้ามาตามแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าสู่คลองต่างๆ สร้างความเดือดร้อนให้แก่ชาวเกษตรเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเกษตรกรฝุ่งธนบุรี เช่น เขตราษฎร์บูรณะ ทุ่งครุ จอมทอง และบางขุนเทียน ได้ทำการปลูกสวนผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ สวนผลไม้