ปภ.รายงานมีพื้นที่ประสบภัยแล้ง 3 จังหวัด ประสานจังหวัดเร่งบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัย – นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า หลายพื้นที่ของประเทศได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้ง โดยขณะนี้ (22 มี.ค.62) มีจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) จำนวน 3 จังหวัด 8 อำเภอ 30 ตำบล 206 หมู่บ้าน ได้แก่ ร้อยเอ็ด ในพื้นที่ 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองสรวง
ปภ.รายงานมีพื้นที่ประสบภัยแล้ง 2 จังหวัด - เร่งบรรเทาความเดือดร้อน พร้อมประสานจังหวัดวางแผนการบริหารจัดการน้ำเป็นระบบ – นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า หลายพื้นที่ของประเทศได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้ง โดยขณะนี้ (20 มี.ค.62) มีจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) จำนวน 2 จังหวัด 5 อำเภอ 7 ตำบล 53 หมู่บ้าน ได้แก่ ร้อยเอ็ด ในพื้นที่ 2 อำเภอ
“พลเอกฉัตรชัย” สั่งลุย “โคบาลบูรพา” หลังครม.ไฟเขียวงบกว่า 1,000 ล้าน หวังเร่งปรับเปลี่ยนปลูกข้าวในพื้นที่แห้งแล้ง จ.สระแก้ว สู่แหล่งอุตสาหกรรมโคเนื้อครบวงจรดันส่งออกกัมพูชา เวียดนาม – สำหรับการดำเนินงานโครงการดังกล่าว มีระยะเวลา 6 ปี (2560 - 2565) แบ่งเป็น 3 ระยะ โดยแต่ละระยะเป็นการปรับเปลี่ยนพื้นที่ของเกษตรกรแต่ละราย ประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นที่ ในช่วงการปรับเปลี่ยนระยะแรก เกษตรกรจะมีรายได้จากการปลูกข้าวในพื้นที่เดิม
ปภ.ประสานจังหวัดเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง - บริหารจัดการน้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดเผยว่า จากการติดตามสภาพอากาศกับกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า ในช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน 2560 ประเทศไทยจะมีอากาศร้อนถึงร้อนจัดในหลายพื้นที่ ประกอบกับข้อมูลปริมาณน้ำของกรมชลประทาน อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่บางแห่งไม่สามารถสนับสนุนการใช้น้ำในภาคการเกษตรได้
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เตรียมความพร้อมปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อช่วยเหลือภัยแล้ง และการเตรียมความพร้อมด้านการเกษตร – "สำหรับการปฏิบัติการฝนหลวงในการช่วยเหลือภัยแล้ง มีพื้นที่เป้าหมาย คือ พื้นที่ภาคอีสาน จำนวน 5 เขื่อน ได้แก่ เขื่อนลำนำลอง เขื่อนลำตะคอง เขื่อนพระเพลิง เขื่อนมูลบล และเขื่อนลำแซะ ภาคกลาง เขื่อนวชิราลงกรณ์ และเขื่อนศรีนครินทร์ และในพื้นที่ภาคใต้ จะมีการเฝ้าระวังที่เขื่อนบางลาง ซึ่งขณะนี้ กรมฝนหลวงฯ อยู่ในระหว่างเตรียมความพร้อมของเครื่องบิน
กอปภ.ก. รายงานสถานการณ์ภัยแล้งเริ่มคลี่คลาย – ปริมาณฝนอยู่ในระดับน้อยและกระจายตัว พร้อมขอความร่วมมือทุกภาคส่วนใช้น้ำอย่างประหยัด – นายกอบชัย บุญอรณะ รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประธานการประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก) อำนวยการติดตาม ซักซ้อมการเฝ้าระวัง และประเมินสถานการณ์ภัยแล้ง ครั้งที่ 20/2559 กล่าวว่า สถานการณ์ภัยแล้งเริ่มคลี่คลายและมีแนวโน้มดีขึ้น
ปภ. ประสานจังหวัดเสี่ยงภัยรับมือภาวะฝนตกหนัก – รายงานมีพื้นที่ประสบภัยแล้ง 38 จังหวัด – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า ในระยะนี้หลายพื้นที่มีฝนตกกระจาย และฝนตกหนักบางพื้นที่ จากการติดตามสภาพอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า บริเวณที่มีฝนตกหนักส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย แพร่ น่าน ลำพูน ลำปาง อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย กำแพงเพชร ตาก จันทบุรี ตราด ระนอง พังงา และภูเก็ต
ปภ.รายงานพื้นที่ประสบภัยแล้ง 36 จังหวัด ประสานจังหวัดเร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้งต่อเนื่อง – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กล่าวว่า แม้ประเทศไทยจะเข้าสู่ช่วงต้นฤดูฝนแล้ว หลายพื้นที่เริ่มมีฝนตกกระจาย แต่ส่วนใหญ่ฝนไม่ได้ตกในพื้นที่เหนือเขื่อน ทำให้ปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนอยู่ในเกณฑ์น้อย จึงไม่สามารถ เพิ่มปริมาณน้ำในเขื่อนได้ ขณะนี้เขื่อนขนาดใหญ่และขนาดกลางมีปริมาณน้ำรวมคิดเป็นร้อยละ 17 – 18
ปภ.รายงานพื้นที่ประสบภัยแล้ง 35 จังหวัด ประสานจังหวัดเร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้งต่อเนื่อง – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กล่าวว่า หลายพื้นที่ของประเทศได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้ง โดยขณะนี้มีจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) จำนวน 35 จังหวัด 213 อำเภอ 1,087 ตำบล 8,711 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 11.62 ของจำนวนหมู่บ้านทั่วประเทศ แยกเป็น
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มอบผู้ตรวจราชการลงสแกนปัญหา-อุปสรรคในพื้นที่ประสบภัยแล้ง ปูพรมคลอบคลุมพื้นที่ 68 จังหวัด 311 อำเภอ พร้อมเชื่อมโยงทุกหน่วยงานบูรณาการการทำงานร่วมกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น – นายสุรพล จารุพงศ์ โฆษกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า การพิจารณาลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์ภัยแล้งได้จำแนกพื้นที่เป็น 2 กลุ่มคือ พื้นที่ที่เสี่ยงภัยเฝ้าระวัง จำนวน 40 จังหวัด132 อำเภอ และอีกกลุ่มหนึ่งคือ พื้นที่เสี่ยงภัยใกล้วิกฤติ จำนวน 28 จังหวัด 76 อำเภอ
กระทรวงเกษตรฯ เผยพื้นที่ประสบภัยแล้งลดลงกว่า 3 ปีที่ผ่านมา สถานการณ์น้ำยังมีใช้ได้ถึงก.ค.นี้ ส่วนปฏิบัติการฝนหลวงช่วยเติมน้ำในเขื่อนได้ 47 ล้าน ลบ.ม. ไม่ห่วงสถานการณ์น้ำเค็มยังควบคุมได้ – ด้านสถานการณ์น้ำใน 4 เขื่อนหลักลุ่มเจ้าพระยา มีปริมาณน้ำใช้การ 2,269 ล้าน ลบ.ม. คาดว่าจะมีน้ำใช้เพื่ออุปโภคบริโภคได้จนถึงเดือนกรกฎาคมนี้ หรืออาจถึงกลางเดือนสิงหาคม ส่วน 2 เขื่อนหลักลุ่มแม่กลอง ไม่น่าเป็นห่วง เพราะมีปริมาณน้ำใช้การถึง 3,120 ล้าน ลบ.ม.
กปภ.จ่ายน้ำฟรี 211 ล้านลิตรช่วยประชาชนช่วงภัยแล้ง – นายชุมพล โชคพงษ์อุดมชัย รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 4) รักษาการแทนผู้ว่าการ กปภ. เปิดเผยว่า ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง กปภ. ได้ประชุมประเมินสถานการณ์ภัยแล้งที่อาจส่งผลกระทบต่อการผลิต-จ่ายน้ำประปาบริการประชาชน และเร่งรัดติดตามการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันและลดความเสี่ยงที่จะเกิดจากภัยแล้ง ควบคู่กับการสนับสนุนน้ำประปาฟรี ณ จุดจ่ายน้ำของ กปภ. ทั้ง 234 สาขาทั่วประเทศ
กปภ. ช่วยภัยแล้ง แจกน้ำฟรีไปแล้วกว่า 165 ล้านลิตร – นางรัตนา กิจวรรณ ผู้ว่าการ กปภ. เปิดเผยว่า จากวิกฤติภัยแล้งที่เกิดขึ้นรุนแรงและเร็วกว่าตั้งแต่ปลายปีที่ผ่านมา กปภ.ในฐานะหน่วยงานที่มีพันธกิจในการผลิตและส่งจ่ายน้ำประปาให้กับประชาชน ได้มีการเตรียมพร้อมอย่างรอบด้านเพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นต่อการผลิตน้ำประปาเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่บริการของ กปภ. ทั้ง 234 สาขาทั่วประเทศ ยกเว้น กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดปฏิบัติการฝนหลวง ประจำปี 2559 พร้อมช่วยเหลือพื้นที่ประสบภัยแล้งและภัยพิบัติ ครอบคลุม 25 ลุ่มน้ำหลัก ในพื้นที่ 77 จังหวัด – พลเอก ปัฐมพงศ์ กล่าวต่อไปว่า ปัจจุบัน ประเทศไทยประสบปัญหาภัยแล้ง เนื่องจากปริมาณฝนตกในปี 2558 มีปริมาณต่ำกว่าเกณฑ์ โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคกลาง ทำให้พื้นที่ปลูกข้าวในลุ่มเจ้าพระยาเริ่มประสบปัญหาขาดแคลนน้ำอย่างมาก ตลอดจนปริมาณน้ำใช้งานของ 5 เขื่อนหลัก ได้แก่ เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์
รัฐมนตรีเกษตรฯ ลงพื้นที่ติดตามพื้นที่ประสบภัยแล้ง จ.กาญจนบุรี ถกหน่วยเกี่ยวข้องหารือลดผลกระทบช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ พร้อมเตรียมลงพื้นที่ประสบภัยแล้งจังหวัดอื่นๆ ต่อเนื่อง – นอกจากนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยังกล่าวชี้แจงแก่เกษตรกรถึงปริมาณน้ำต้นทุนที่มีน้อยมากพร้อมขอความร่วมมือเกษตรกรปลูกข้าวเฉพาะในส่วนที่ใช้ดำรงชีพ เพื่อลดผลกระทบจากความเสียหาย นอกจากนี้ได้ยืนยันว่าภาครัฐพร้อมที่จะให้การสนับสนุนการทำอาชีพอื่นแทนการปลูกข้าว
รัฐมนตรีเกษตรฯ ลงพื้นที่ติดตามพื้นที่ประสบภัยแล้ง จ.กาญจนบุรี ถกหน่วยเกี่ยวข้องหารือลดผลกระทบช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ สั่งกรมชลฯเร่งสนับสนุนน้ำเพื่ออุปโภค-บริโภค พร้อมเตรียมลงพื้นที่ประสบภัยแล้งจังหวัดอื่นๆ ต่อเนื่อง – นอกจากนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยังกล่าวชี้แจงแก่เกษตรกรถึงปริมาณน้ำต้นทุนที่มีน้อยมากพร้อมขอความร่วมมือเกษตรกรปลูกข้าวเฉพาะในส่วนที่ใช้ดำรงชีพ เพื่อลดผลกระทบจากความเสียหาย
กรมทรัพยากรน้ำบาดาลประกาศจ้างเหมาเอกชนเจาะบ่อน้ำบาดาลในเขตชลประทานพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา 12 จังหวัด รวม 735 แห่ง – กรมทรัพยากรน้ำบาดาลมีความประสงค์จะจ้างเหมาเอกชนเจาะบ่อน้ำบาดาล จำนวน 735 แห่ง ตามโครงการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรในพื้นที่ประสบภัยแล้งในเขตชลประทานพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา 12 จังหวัด แบ่งเป็นกลุ่มพื้นที่ 52 กลุ่ม ประกอบด้วย จังหวัดกำแพงเพชร พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย นครสวรรค์ สุพรรณบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และจังหวัดนครปฐม
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล รับรางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทรางวัลพัฒนาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมระดับดี ผลงานโครงการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาล เพื่อการเกษตรในพื้นที่ประสบภัยแล้ง ณ ห้องเจ้าพระยา1 - 2 ชั้น2หอประชุมกองทัพเรือ กทม. – 1) เพื่อพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรในรูปแบบบูรณาการแหล่งน้ำบาดาลร่วมกับแหล่งน้ำผิวดิน 2) ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรได้มีส่วนร่วมกับกรมทรัพยากรน้ำบาดาลในการบริหารจัดการน้ำบาดาล 3)
กปภ. ช่วยภัยแล้ง แจกน้ำประปาไปแล้วกว่า 500 ล้านลิตร – นางรัตนา กิจวรรณ ผู้ว่าการ กปภ. เปิดเผยว่า จากสถานการณ์ภัยแล้งที่เกิดขึ้น ส่งผลให้หลายพื้นที่ทั่วประเทศประสบปัญหาภัยแล้งที่รุนแรงกว่าทุกปีที่ผ่านมา ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนมีน้ำประปาใช้สำหรับอุปโภคบริโภคอย่างต่อเนื่อง กปภ. จึงได้มีการแจกจ่ายน้ำประปาโดยไม่คิดมูลค่าแก่ประชาชนที่ประสบปัญหาภัยแล้ง โดยตั้งจุดแจกน้ำประปา ณ สำนักงาน กปภ.สาขา ตลอดจนนำรถบรรทุกน้ำของ กปภ.
เจาะน้ำบาดาลช่วยภัยแล้งคืบหน้ากว่าร้อยละ 80 พร้อมระดมคนและเครื่องจักรเสริมทัพ หากรัฐบาลสั่งการให้เพิ่มพื้นที่เป้าหมาย – จากการที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับส่วนราชการและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะกรรมการกำหนดนโยบายและ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ กระทรวงกลาโหม และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จัดทำโครงการจัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรในพื้นที่ประสบภัยแล้งระยะเร่งด่วน
เจาะบ่อน้ำบาดาลคืบหน้า ช่วยพลิกฟื้นผืนนาคืนทุ่ง – ทั้งนี้ พื้นที่เป้าหมายภาคกลางบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาและภาคเหนือตอนล่างที่กรมทรัพยากร น้ำบาดาลเข้าไปดำเนินการให้ความช่วยเหลือ รวม 15 จังหวัด ได้แก่ กำแพงเพชร อุตรดิตถ์ พิษณุโลก สุโขทัย พิจิตร สุพรรณบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท นครสวรรค์ ลพบุรี ราชบุรี นครปฐม พระนครศรีอยุธยา และปทุมธานี ในหลายพื้นที่ที่มีการเจาะบ่อน้ำบาดาลและได้นำน้ำบาดาลไปใช้ในแปลงนาข้าวที่เหี่ยวเฉาขาดน้ำ