Syntach AB ได้รับทุนสนับสนุน 2.5 ล้านยูโรจาก EU – ทั่วโลกมีผู้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวกว่า 60 ล้านคน ทั้งยังเป็นสาเหตุที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก แต่ระบบพยุงหัวใจช่วยต่อชีวิตและช่วยชีวิตเหล่านั้นได้ Syntach AB กำลังพัฒนาระบบพยุงหัวใจห้องล่างซ้ายแบบแผลเล็กที่ไม่เหมือนระบบอื่น ๆ ในปัจจุบัน เพราะไม่ต้องผ่าตัดหัวใจแบบเปิดเพื่อใส่ระบบนี้ นอกจากนี้ ระบบดังกล่าวยังใช้พลังงานจากแบตเตอรีที่มาในตัว
แพทย์จาก St. David's Medical Center เป็นกลุ่มแรก ๆ ในสหรัฐที่ได้ใส่อุปกรณ์เทคโนโลยีกระตุ้นเส้นประสาทสำหรับการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวระยะสุดท้าย – ระบบของเทคโนโลยีดังกล่าวนี้มาพร้อมอุปกรณ์ที่ตั้งค่าโปรแกรมได้ โดยจะอยู่ในบริเวณใต้กระดูกไหปลาร้าของผู้ป่วยและส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังตัวรับแรงดัน (baroreceptor) ซึ่งเป็นตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลงความดันในหลอดเลือดแดงคาโรติด การทำเช่นนี้จะกระตุ้นให้เกิด baroreflex
Occlutech เสร็จสิ้นการรับสมัครผู้ป่วยเข้าร่วมการทดลองอุปกรณ์ Atrial Flow Regulator (AFR) เพื่อรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว – PRELIEVE เป็นการศึกษานำร่องแบบเปิด ไม่มีการสุ่ม ชนิดไปข้างหน้า (prospective) และจัดทำในศูนย์หลายแห่ง เพื่อประเมินผลลัพธ์ของการใช้อุปกรณ์ AFR ในการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดร่วมกับการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายปกติ (HFpEF) หรือการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายที่มีอัตราต่ำ
Atrial Flow Regulator (AFR) ของ Occlutech ได้รับการรับรองสถานะ Breakthrough Device Designation สำหรับการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว (HF) – ภาวะหัวใจล้มเหลว (HF) เป็นภาวะรุนแรงที่เกิดจากการที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดเข้าสู่ร่างกายได้อย่างเพียงพอ ปัจจุบันมีผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวจำนวนกว่า 30 ล้านคนทั่วโลก ซุ่งความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวตลอดช่วงชีวิตนั้นจะเพิ่มขึ้นตามอายุ โดยกว่า 50% ของผู้ป่วยอายุ 65
อุปกรณ์รักษาภาวะหัวใจล้มเหลว Occlutech AFR ผ่านการรับรองมาตรฐาน CE ของยุโรป – ในยุโรปและทั่วโลกมีผู้ป่วยหลายล้านคนที่เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว และหลายแสนคนต้องเสียชีวิตจากภาวะดังกล่าวทุกปี ผู้ป่วยเหล่านี้มีปริมาณเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจลดลงเพราะหัวใจห้องซ้ายทำงานผิดปกติ โดยหัวใจห้องบนซ้ายจะพองโตและมีแรงดันสูงเกินไป จนนำไปสู่ภาวะหัวใจล้มเหลว ผู้ป่วยจะมีอาการเลือดคั่งในปอดและหายใจหอบ การใส่อุปกรณ์ Occlutech AFR
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ชูความสำเร็จคลินิกภาวะหัวใจล้มเหลว พร้อมขยายองค์ความรู้สู่โรงพยาบาลทั่วไทย – ในนามตัวแทนของคลินิกภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ฯ เรามีความยินดีเรียนเชิญท่านเข้าร่วมการแถลงข่าวครั้งสำคัญซึ่งนับเป็นครั้งแรกของคลินิกภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ฯ ที่ได้รวบรวมคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะหัวใจล้มเหลว รวมถึง 5 โรงพยาบาล
เช็คสัญญาณเตือนภาวะหัวใจล้มเหลว ภัยใกล้ตัวคนไทย – ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์อภิชาต สุคนธสรรพ์ อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และประธานโครงการอบรมทางวิชาการ Chiang Mai Cardiology Conference (CMCC) ได้ให้ข้อมูลภายในงานการประชุมวิชาการประจำปี 2558 "Evolution in Cardiovascular Medicine" ซึ่งจัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้
IEM นำเสนอระบบวัดความดันโลหิต และความเร็วของการไหลเวียนเลือดภายในงาน Medica 2014 – บริษัท IEM ในเมืองสโตลแบร์กของเยอรมนีเตรียมนำเสนอระบบ PWV ที่ผ่านการรับรองทางคลินิก “วัดความดันโลหิต และความเร็วในการไหลเวียนเลือดภายในครั้งเดียว” ที่มหกรรม Medica 2014 ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์แสดงให้เห็นว่า PWV เป็นตัวบ่งชี้ของอาการเกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือด และมีความแม่นยำสูงกว่าการประเมินปัจจัยเสี่ยงทั่วไปอย่างง่ายๆ เช่น
Procoralan(R) เพิ่มคุณภาพชีวิตและการรอดชีวิตในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวได้อย่างมีนัยสำคัญ – ผลการวิเคราะห์ครั้งใหม่ที่ได้จากการศึกษาอัตราการเสียชีวิตอันเนื่องมาจากการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังครั้งใหญ่ที่สุด แสดงให้เห็นว่า ยาลดอัตราการเต้นของหัวใจ Procoralan(R) (ivabradine) ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต ได้อย่างมีนัยสำคัญ [1] โดยข้อมูลใหม่จากการศึกษา SHIFT (Systolic Heart Failure Treatment with the If Inhibitor Ivabradine Trial) ซึ่งนำเสนอเป็นครั้งแรกในวันนี้ ที่การประชุม Heart
ผลการศึกษาล่าสุดเผยยา Procoralan(R) ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตและการรักษาตัวในโรงพยาบาลอันเกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลวลงได้กว่า 1 ใน 4 – การศึกษาอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมาบ่งชี้ว่า การให้ยา Procoralan(R) (ivabradine) ซึ่งช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ สามารถลดความเสี่ยงในการเสียชีวิตและการรักษาตัวในโรงพยาบาลอันเกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลว(1) ทั้งนี้ ผลลัพธ์ของการศึกษาใหม่ซึ่งมีชื่อว่า SHIFT
ภาพข่าว: สถาบันโรคทรวงอก จัดอบรม CDI International Heart Failure Summit การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว – กรุงเทพฯ--22 ก.ค.--พีอาร์ โฟกัส สถาบันโรคทรวงอก จัดงาน CDI International Heart Failure Summit เป็นการประชุมระหว่างประเทศ เรื่อง การดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว เพื่อเพิ่มมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วย โดยเน้นการทำงานแบบสหสาขาวิชาชีพ โดยมี Prof. Dr. Harvey D White (คนกลาง) และผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ
การประชุมผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์เรื่อง วิวัฒนาการการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว: แนวโน้มความก้าวหน้าทางการรักษาในเวลา 25 ปี และผลการศึกษาครั้งใหม่จาก TCT – ทำไม: รายงานการศึกษาสำคัญหลายฉบับของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียงระดับโลกทั้งในอดีตและปัจจุบันได้นำเสนอแนวโน้มความก้าวหน้าด้านการรักษา AMI มานานกว่า 25 ปี และให้คำอธิบายทางคลีนิกซึ่งรวมถึงข้อมูลใหม่ที่จัดทำเป็นเวลา 1 ปี จาก HORIZONS-AMI ที่มีการนำเสนอในวันนี้เป็นครั้งแรกใคร:
สถาบันหัวใจเพอร์เฟคฮาร์ท – ปิยะเวท เปิดให้บริการแล้วเต็มรูปแบบ เน้นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน โรคหัวใจครบทีม และเครื่องมือประสิทธิภาพสูง – กรุงเทพฯ--4 ต.ค.--นิโอ ทาร์เก็ต โรงพยาบาลปิยะเวทร่วมกับคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ เปิดสถาบันหัวใจเพอร์เฟคฮาร์ท – ปิยะเวท ให้บริการเต็มรูปแบบ โดยมีศูนย์เฉพาะทางด้านโรคหัวใจ 4 ศูนย์ด้วยกัน คือ ศูนย์รักษาภาวะหัวใจล้มเหลว ศูนย์รักษากล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันและอาการเจ็บแน่นหน้าอก