ข่าวประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยโตเกียว | newswit

ฟูจิตสึ ประยุกต์ใช้ AI และซูเปอร์คอมพิวเตอร์
ฟูจิตสึ ประยุกต์ใช้ AI และซูเปอร์คอมพิวเตอร์
เพื่อการพยากรณ์สึนามิ แบบเรียลไทม์ – May 2022
มหาวิทยาลัยโตเกียว ใช้ Fugaku
มหาวิทยาลัยโตเกียว ใช้ Fugaku
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกของฟูจิตสึ ช่วยวิจัยคิดค้นยารักษาโควิด-19 – ในงานวิจัยร่วม ฟูจิตสึ และ RCAST Oct 2021
โทคิวะ ไฟโตเคมิคอล ประกาศผลการศึกษาก้าวล้ำครั้งใหม่ สนับสนุนประโยชน์ของ SIRTMAX (R) ในการส่งเสริมชีวิตที่ยืนยาวและมีสุขภาพดีขึ้น – การศึกษาวิจัยหัวข้อ "สาร Quercetin 3,5,7,3',4'-pentamethyl ether จาก "Kaempferia parviflora" สามารถกระตุ้นการทำงานของโปรตีน SIRT1 ในร่างกายมนุษย์ได้โดยตรงและมีประสิทธิภาพ" ซึ่งจัดทำโดยบริษัทโทคิวะและศาสตราจารย์โคจิ นากาตะ และได้รับการเผยแพร่ผ่านนิตยสาร "Communications Biology" แสดงให้เห็นว่า สาร quercetin
ภาพข่าว: มูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ
ภาพข่าว: มูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ
มอบทุนศึกษาต่อปริญญาโท ณ มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ต่อเนื่องเป็นปีที่ 10 – ทั้งนี้ มูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ Jul 2018
ผงชูรสได้รับการปฏิบัติ อย่างเป็นธรรมหรือไม่?
ผงชูรสได้รับการปฏิบัติ อย่างเป็นธรรมหรือไม่?
– หลังจากที่มีการขายผลิตภัณฑ์ AJI-NO-MOTO เครื่องปรุงรสชาติพื้นฐาน อูมามิ ในประเทศญี่ปุ่น ได้ไม่ถึง 10 ปี บริษัท Jan 2018
เปิดรับสมัครทุนการศึกษาโครงการทุนมูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ
เปิดรับสมัครทุนการศึกษาโครงการทุนมูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ
ASEAN SCHOLARSHIP ระดับบัณฑิตศึกษา ณ มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2560 – Dec 2015
“ไทย – ญี่ปุ่น” ร่วมวิจัยวัณโรคดื้อยาทั้งในเชื้อและคนพร้อมกัน ครั้งแรกในอาเซียน – นายแพทย์อภิชัย มงคล อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวภายหลังการร่วมลงนามข้อตกลงโครงการวิจัยการแก้ไขปัญหาวัณโรคกับรัฐบาลญี่ปุ่นว่า วัณโรคเป็นโรคติดต่อเรื้อรังของระบบทางเดินหายใจที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยและกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งในแต่ละปีมีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทยประมาณ 80,000 ราย และเสียชีวิตประมาณ 5,000 – 6,000 ราย
มูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะเปิดรับสมัครทุนบัณฑิตศึกษา ณ มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น – กรุงเทพฯ--10 ม.ค.--อายิโนะโมะโต๊ะ มูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ ร่วมกับมูลนิธิทุนการศึกษาอายิโนะโมะโต๊ะ ประเทศญี่ปุ่น เปิดรับสมัครทุนบัณฑิตศึกษาภายใต้โครงการ Ajinomoto Scholarship for ASEAN International Students ประจำปีการศึกษา 2557 ซึ่งเป็นทุนให้เปล่าและไม่มีข้อผูกมัดใดๆ
TCELS-รามา-มหาวิทยาลัยโตเกียวจัดประชุมนานาชาติด้านเภสัชพันธุศาสตร์ – กรุงเทพฯ--23 ม.ค.--กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี TCELS ร่วมกับโรงพยาบาลรามาธิบดี จับมือศูนย์พันธุกรรมมนุษย์ มหาวิทยาลัยโตเกียว จัดประชุมระดับนานาชาติด้านเภสัชพันธุศาสตร์ สร้างภาคีเครือข่ายในระดับเอเชีย หวังให้เกิดการบริการในภาพใหญ่ พร้อมเชิญนักวิจัยชื่อก้องทั่วเอเชียมาเปิดเผยถึงนวัตกรรมยืดชีวิตมนุษย์ เผยไทยมีผลงานการทดสอบพันธุกรรมมนุษย์ต่อการตอบสนองของยาในอันดับต้นของโลก นายสุริยัน
ญี่ปุ่นยังมั่นใจประเทศไทยต่อสัญญาTCELSวิจัยพันธุกรรม – กรุงเทพฯ--4 พ.ค.--TCELS ยุ่นยังมั่นใจไทย มหาวิทยาลัยโตเกียวต่อสัญญา TCELS วิเคราะห์ยีนแพ้ยาของโรคทางกายและทางจิต ราชานุกูลเดินหน้าผลิตชุดทดสอบการใช้ยาต้านเศร้า หวังสกัดภาวการณ์ฆ่าตัวตายจากการใช้ยาไม่ได้ผล หลังพบคนไทยมีความเครียดสูงขึ้นจากสภาพปัญหาบ้านเมือง เผยหากสำเร็จแนะให้ตรวจยีนทั้งครอบครัวเพราะภาวะเครียดถ่ายทอดทางพันธุกรรม นายกำจร พลางกูร
การบรรยายพิเศษเรื่อง อารยธรรมแห่งความอ่อนโยน โดย ศาสตราจารย์ ดร. มาจิดะ โซโฮ – กรุงเทพฯ--30 ก.ค.--มูลนิธิญี่ปุ่น กรุงเทพฯ มูลนิธิญี่ปุ่น กรุงเทพฯ และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภูมิใจเสนอการบรรยายพิเศษโดย ศจ. ดร. มาจิดะ โซโฮ แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียวเพื่อการศึกษาภาษาต่างประเทศ การบรรยายจะจัดให้มีขึ้น ณ ห้อง 105 ของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันอังคารที่ 27 สิงหาคม 2545 เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป
เชิญร่วมเสนอผลงานวิจัยในการประชุมนานาชาติ “ที่ราบลุ่มเจ้าพระยา” – กรุงเทพฯ--31 ส.ค.--จุฬาฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ขอเชิญชวนอาจารย์นักวิชาการ นักวิจัย เข้าร่วมการประชุมนานาชาติ นำเสนอผลงานการวิจัย และอภิปรายกลุ่ม ภายใต้หัวข้อ “ที่ราบลุ่มเจ้าพระยา” ประวัติศาสตร์การพัฒนา พลวัตร และความท้าทายของอู่ข้าวเมืองไทย” ระหว่างวันที่ ๑๒ -
เชิญร่วมเสนอผลงานวิจัยในการประชุมนานาชาติ “ที่ราบลุ่มเจ้าพระยา” – กรุงเทพฯ--28 มิ.ย.--จุฬาลงกรณ์ฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ขอเชิญชวนอาจารย์นักวิชาการ นักวิจัย เข้าร่วมการประชุมนานาชาติ นำเสนอผลงานการวิจัย และอภิปรายกลุ่ม ภายใต้หัวข้อ “ที่ราบลุ่มเจ้าพระยา” ประวัติศาสตร์การพัฒนา พลวัตร และความท้าทายของอู่ข้าวเมืองไทย”