ผลกระทบภัยแล้งต่อเศรษฐกิจ เสนอรัฐบาลใหม่เพิ่มงบชลประทานและเก็บค่าน้ำ – ภัยแล้งปีนี้มาเร็ว น่าจะยาวนานและขยายวงมากกว่าที่คาดและแนวโน้มน่าจะรุนแรงขึ้นเรื่อยๆจากภาวะโลกร้อน ภัยแล้งกระทบทั้งภาคเกษตรกรรม ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมและภาคการท่องเที่ยว สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจไม่ต่ำกว่า 20,000-30,000 ล้านบาท ต้นทุนน้ำในหลายเขื่อนและอ่างเก็บน้ำค่อนข้างต่ำ มีสำรองน้ำสำหรับการอุปโภคบริโภคถึงเดือนสิงหาคม
เกษตรฯ ยันกทม.และปริมณฑลไม่ได้รับผลกระทบจากน้ำเหนือ เหตุปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยายังอยู่ในเกณฑ์ควบคุมไม่สูงเท่าปี 54 มีเพียงพื้นที่นอกคันกั้นน้ำที่ได้รับผลกระทบน้ำเอ่อล้นตลิ่ง พร้อมแจ้งเตือนหน่วยเกี่ยวข้องแจงข้อมูลประชาชนต่อเนื่อง – สำหรับสถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ สถานการณ์อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางทั่วประเทศ ปัจจุบัน(10ต.ค.60) มีปริมาณน้ำในอ่างฯ รวมกันทั้งสิ้น 59,478 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 79 ของความจุอ่างฯรวมกันทั้งหมด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เตรียมพร้อมรับมือพายุโซนร้อน “ราอี” พร่องน้ำในระบบชลประทาน รองรับฝนตกหนักแล้ว พร้อมเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด – ด้าน ดร.ทองเปลว กองจันทร์ รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวถึงสถานการณ์น้ำในเขื่อนขนาดใหญ่ทั่วประเทศว่า ล่าสุด(13 ก.ย. 59) มีปริมาณน้ำรวมกันประมาณ 38,385 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 54 ของความจุอ่างฯ รวมกันมีปริมาณน้ำใช้การได้ประมาณ 14,859 ล้านลูกบาศก์เมตร
ก.เกษตรฯ เร่งจัดรอบเวรใช้น้ำ/เสนอนายกฯปรับปรุงระบบชลประทานขนาดเล็ก – นายปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร เปิดเผยภายหลังลงพื้นที่ตรวจติดตามสถานการณ์น้ำ ณ เขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท ตรวจเยี่ยมศูนย์ช่วยเกษตรกร พร้อมลงพื้นที่รับฟังปัญหาจากเกษตรกร ในพื้นที่ปลูกข้าวที่อยู่ในช่วงกำลังตั้งท้องออกรวงในโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาชัณสูตร อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี ว่า สถานการณ์น้ำเหนือเขื่อนเจ้าพระยาขณะนี้เริ่มดีขึ้น โดยปริมาณน้ำไหลผ่าน 95 ลบ.ม./วินาที
จีนเน้นพัฒนา “ระบบชลประทาน” – กรุงเทพฯ--14 ก.พ.--สำนักงานที่ปรึกษาการเกษตร ประจำกรุงปักกิ่ง เอกสารส่วนกลางหมายเลข ๑ หมายถึงเอกสารฉบับแรกในแต่ละปีของรัฐบาลกลางจีน เป็นเรื่องที่รัฐบาลกลางให้ความสำคัญที่สุด โดยเฉพาะปัญหาเกษตรกรรม ชนบท และเกษตรกร ซึ่งตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๕-๒๕๒๙ รัฐบาลกลางจีนได้ออกเอกสารฯเกี่ยวกับแนวทางแก้ไขปัญหาการปฎิรูปชนบท และการพัฒนาเกษตรกรรมต่อเนื่องกันเป็นเวลา ๕ ปี ในปีพ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๒ ได้ออกเอกสารฯนโยบาย “๓