ข่าวประชาสัมพันธ์ลุ่มน้ำเจ้าพระยา | newswit

กทม. เตรียมพร้อมเฝ้าระวังน้ำเหนือ-น้ำหนุน
กทม. เตรียมพร้อมเฝ้าระวังน้ำเหนือ-น้ำหนุน
ตรวจสอบความแข็งแรงแผงคันกั้นน้ำริมเจ้าพระยา – ขณะเดียวกันได้เตรียมแผนปฏิบัติการให้สถานีสูบน้ำตามแนวริมแม่น้ำเจ้าพร 13 Aug
ปตท. จับมือ กรมป่าไม้ พัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติฯ
ปตท. จับมือ กรมป่าไม้ พัฒนาสวนเฉลิมพระเกียรติฯ
80 พรรษา ยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้สวนเฉลิมพระเกียรติฯ 80 พรรษา 22 Feb
กรมส่งเสริมการเกษตร ขอความร่วมมือเกษตรกรพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยางดทำนาปรังรอบสอง
กรมส่งเสริมการเกษตร ขอความร่วมมือเกษตรกรพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยางดทำนาปรังรอบสอง
แนะปลูกพืชใช้น้ำน้อยแทน – ข้อมูลสถานการณ์น้ำ ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2567 14 Feb
ธนชาตประกันภัย ร่วมฉลอง 107 ปี
ธนชาตประกันภัย ร่วมฉลอง 107 ปี
เทศกาลตรุษจีนนครสวรรค์ สืบสานงานประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากน้ำโพ ปี 2566 – นายมหพล จินดาขันธ์ Head of customer Dec 2022
วช. หนุนนักวิจัย มก. เร่งศึกษาคาดการณ์ปริมาณน้ำ
วช. หนุนนักวิจัย มก. เร่งศึกษาคาดการณ์ปริมาณน้ำ
ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ล่วงหน้า 2 สัปดาห์ เตรียมรับมืออุทกภัย – ผศ.ดร.จุติเทพ วงษ์เพชร Oct 2022
วช. หนุน นักวิจัย จุฬาฯ สำรวจพื้นที่น้ำท่วมผ่านดาวเทียม
วช. หนุน นักวิจัย จุฬาฯ สำรวจพื้นที่น้ำท่วมผ่านดาวเทียม
ประเมินความเสียหายจากใต้ฝุ่นโนรู บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา – จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม พบว่า Oct 2022
ฮอนด้า ส่งมอบอุปกรณ์และสถานีโทรมาตรอัตโนมัติ
ฮอนด้า ส่งมอบอุปกรณ์และสถานีโทรมาตรอัตโนมัติ
แก่ จ.พระนครศรีอยุธยา เพื่อบริหารการจัดการน้ำแบบองค์รวม – Aug 2022
วช. หนุนนักวิจัย ม.รามคำแหง พัฒนา
วช. หนุนนักวิจัย ม.รามคำแหง พัฒนา
โครงการการศึกษาเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางอุทกวิทยาและฟลักซ์ ของลุ่มน้ำจิวหลง May 2022
ชัยวุฒิ ลงพื้นที่สิงห์บุรี รับฟังปัญหา
ชัยวุฒิ ลงพื้นที่สิงห์บุรี รับฟังปัญหา
พร้อมช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนประชาชน – เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2564 นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ Dec 2021
ปรับแผนจัดการน้ำลุ่มเจ้าพระยาหลังฝนยังแผ่ว
ปรับแผนจัดการน้ำลุ่มเจ้าพระยาหลังฝนยังแผ่ว
แม้ โคะงุมะ ช่วยเติมน้ำเข้าเขื่อนรวมกว่า 1,400 ล้าน ลบ.ม. – ดร.สมเกียรติ ประจำวงษ์ Jun 2021
กรมส่งเสริมการเกษตรแนะวิธีรับมือ
กรมส่งเสริมการเกษตรแนะวิธีรับมือ
น้ำเค็มรุก เข้าสวน – นายเข้มแข็ง ยุติธรรมดำรง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เผยว่า Feb 2021
กรมชลฯ ผุดแผนประตูระบายน้ำ4แห่งในลุ่มน้ำยม
กรมชลฯ ผุดแผนประตูระบายน้ำ4แห่งในลุ่มน้ำยม
หวังแก้ปัญหาภัยแล้งอย่างยั่งยืน – แต่ละปีที่ผ่านมา ลุ่มน้ำยมประสบปัญหาน้ำท่วมอย่างต่อเนื่องเพราะพื้นที่ป่าต้นน้ำลำ Nov 2020
เกษตรกรพร้อมเป็นแนวร่วมชี้แจงประชาชน
เกษตรกรพร้อมเป็นแนวร่วมชี้แจงประชาชน
หลังชป.นำผู้แทนกลุ่มเกษตรกรลุ่มน้ำเจ้าพระยา ดูสถานการณ์น้ำในเขื่อนภูมิพลด้วยตาตนเอง – Jul 2020
ภาพข่าว : กรมชลประทาน ลงพื้นที่
ภาพข่าว : กรมชลประทาน ลงพื้นที่
จ.นครสวรรค์ – จ.พิจิตร เร่งบริหารจัดการน้ำ 4 โครงการ ช่วยประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้ำยม – นอกจากนี้ Jul 2020
คณะอนุกรรมการนโยบายและบริหารข้าวแห่งชาติด้านการผลิต เห็นชอบพื้นที่เป้าหมายการส่งเสริมการปลูกข้าว ปี 2563/64 รอบที่ 1 (นาปี) จำนวน 59.884 ล้านไร่ –
สทนช. เผยผลการจัดทำแผนหลักบริหารจัดการทรัพยากรน้ำกลุ่มลุ่มน้ำเจ้าพระยาใหญ่
สทนช. เผยผลการจัดทำแผนหลักบริหารจัดการทรัพยากรน้ำกลุ่มลุ่มน้ำเจ้าพระยาใหญ่
หวังแก้ไขปัญหาน้ำในทุกมิติอย่างเป็นระบบและยั่งยืน – นายปรีชา สุขกล่ำ ที่ปรึกษาด้านบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ สทนช. Jan 2020
กระทรวงเกษตรฯ โดยกรมชลประทาน เดินหน้าบริหารจัดการน้ำและผลักดันค่าความเค็ม จากระดับน้ำทะเลหนุนสูงช่วง 13 – 15 ม.ค. 63 เพื่อลดผลกระทบต่อการผลิตประปา กล้วยไม้ และพืชผลทางการเกษตร – ด้านนายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวเพิ่มเติมว่า จากสถานการณ์ค่าความเค็มในลุ่มน้ำเจ้าพระยา หลังกรมชลประทานได้ดำเนินการบริหารจัดการน้ำเพื่อผลักดันค่าความเค็มที่รุกตัวในแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งเกิดน้ำทะเลหนุนช่วงวันที่ 13 – 15 ม.ค. 63
แมทช์ชี้ชะตา “ศึกวันดวลเพลง เพื่อมาตุภูมิ”
แมทช์ชี้ชะตา “ศึกวันดวลเพลง เพื่อมาตุภูมิ”
“ปูนิ่ม ชัยนาท V.S. หลิว อำนาจเจริญ” ใครจะคว้า1ล้าน!! – Jan 2019
กรอ. ปลื้มโรงงานฯใน 3 ลุ่มน้ำหลัก
กรอ. ปลื้มโรงงานฯใน 3 ลุ่มน้ำหลัก
อัพเกรดสู่ “กรีน อินดัสทรี” กว่า 300 โรง พร้อมเผยปี 60 สามารถลดปริมาณของเสียกว่า 4 พันตันต่อปี – Apr 2018
ปภ.ประสาน 6 จังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยา เฝ้าระวังผลกระทบจากการเพิ่มการระบายน้ำผ่านเขื่อนเจ้าพระยา – นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า จากการติดตามสภาวะอากาศและปัจจัยเสี่ยงเชิงพื้นที่ร่วมกับกรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน กรมทรัพยากรธรณี สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร พบว่า ปริมาณฝนกระจายตัวในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง ทำให้ระดับน้ำในลุ่มน้ำปิง และลุ่มน้ำน่าน มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น
ปภ.ขอความร่วมมือเกษตรกร 12 จังหวัด ในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ชะลอการปลูกข้าวนาปีต่อเนื่อง เพื่อป้องกันผลผลิตได้รับความเสียหายในช่วงฤดูน้ำหลาก – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า จากการประสานข้อมูลสถานการณ์น้ำร่วมกับกับกรมชลประทาน พบว่า กรมชลประทานได้วางแนวทางการบริหารจัดการน้ำฤดูฝนปี พ.ศ. 2560 ตามแผนการบริหารจัดการน้ำและเพาะปลูกพืชฤดูฝนปี พ.ศ. 2560 ให้สอดคล้องกับนโยบายการผลิตข้าวครบวงจร
กระทรวงเกษตรฯ ย้ำสถานการณ์น้ำยังอยู่ในระดับควบคุม ไม่กระทบพื้นที่เพาะปลูกลุ่มน้ำเจ้าพระยาและพื้นที่ในเขตคันกั้นน้ำ ด้านพื้นที่ภาคอีสานเร่งระบายน้ำลงแม่น้ำโขง และเตรียมพร้อมรับสถานการณ์เมื่อฝนตกอีกระลอก – ด้านนายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวเพิ่มเติมถึงความก้าวหน้าในการดำเนินการใน 2 มาตรการหลัก ตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ 1) ได้เร่งการระบายน้ำออกจากเขื่อนเป็นปริมาณวันละ 37 ล้าน ลบ.ม. 2)
ปภ. ประสาน 7 จังหวัดภาคกลางในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา เตรียมพร้อมรับมือระดับน้ำที่เพิ่มสูงขึ้นจากการพร่องน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยารองรับน้ำหลาก – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดเผยว่า จากการติดตามสถานการณ์น้ำร่วมกับกรมชลประทาน พบว่า กรมชลประทานได้บริหารจัดการน้ำ โดยการพร่องน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาไว้รองรับ น้ำหลากจากบริเวณตอนบนของประเทศ ซึ่งปัจจุบันน้ำได้ไหลหลากลงสู่แม่น้ำน่านบริเวณจังหวัดพิษณุโลก พิจิตร
กระทรวงเกษตรฯ ขับเคลื่อนโครงการการบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำเจ้าพระยา บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาโครงการที่พร้อมดำเนินการเร่งด่วน พร้อมวางแผนโครงการระยะยาว – การประชุม กนช. ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 23พฤศจิกายน 2559 ที่ประชุมมีมติรับทราบตามที่กรมชลประทานเสนอความก้าวหน้าแผนการบริหารจัดการน้ำและแผนการระบายน้ำเจ้าพระยา และมีมติให้ฝ่ายเลขานุการ กนช. เป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการแผนงาน หากดำเนินการโครงการขนาดใหญ่ไม่ได้
กระทรวงเกษตรฯ หารือญี่ปุ่น เดินหน้าศึกษาโครงการคลองผันน้ำร่วมกับถนนวงแวน
กระทรวงเกษตรฯ หารือญี่ปุ่น เดินหน้าศึกษาโครงการคลองผันน้ำร่วมกับถนนวงแวน
รอบที่ 3 เตรียมการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำเจ้าพระยา – ทั้งนี้ จากผลการศึกษาโครงการดังกล่าว May 2017
“ไอคอนสยาม” ร่วมกับ มูลนิธิชัยพัฒนา
“ไอคอนสยาม” ร่วมกับ มูลนิธิชัยพัฒนา
และองค์กรพันธมิตร ร่วมสืบสานน้อมศาสตร์พระราชาริเริ่มโครงการ “รักษ์ลุ่มน้ำเจ้าพระยา Apr 2017
กระทรวงเกษตรฯ วอนเกษตรกรลุ่มน้ำเจ้าพระยา ลดพื้นที่ทำนาปรังรอบ 2 อดใจรอไปปลูกนาปีพร้อมกันทั้งระบบในช่วงฤดูฝนเดือน พ.ค. นี้ – นายสัญชัย เกตุวรชัย อธิบดีกรมชลประทาน กล่าวเพิ่มเติมว่า สถานการณ์น้ำในเขื่อนขนาดใหญ่และขนาดกลางทั้งประเทศว่า ปัจจุบัน (18 เม.ย. 60) มีปริมาณน้ำในอ่างฯรวมกัน 42,295 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 56 ของความจุอ่างฯรวมกัน มากกว่าปี 2559 รวม 7,248 ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นปริมาณน้ำที่ใช้การได้ 18,476 ล้านลูกบาศก์เมตร
หนุนปลูกพืชหลากหลายใช้น้ำน้อย ช่วยเกษตรกรยุคใหม่เพิ่มช่องทางรายได้ทดแทนนาปรัง – นางสาวรังษิต ภู่ศิริภิญโญ รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร(สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงโครงการปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวไปปลูกพืชที่หลากหลายฤดูนาปรัง ปี 2560 ซึ่งกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินงาน เพื่อลดรอบการทำนาปรังและสร้างรายได้จากการปลูกพืชอื่นทดแทนในพื้นที่จังหวัดเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยา