ปภ.เผยสถิติสาธารณภัยปี 2565 ในรอบ 4 เดือน (ม.ค. - เม.ย. 65) – ด้านพื้นที่ประสบสาธารณภัย ภาพรวมประเทศไทยมีพื้นที่ประสบสาธารณภัย รวม 13,370 หมู่บ้าน/ชุมชน โดยมีพื้นที่ประสบวาตภัยมากที่สุด จำนวน 9,704 หมู่บ้าน/ชุมชน ใน 75 จังหวัดและกรุงเทพมหานคร รองลงมา ได้แก่ อุทกภัย มีพื้นที่ประสบภัย จำนวน 2,580 หมู่บ้าน/ชุมชน ใน 26 จังหวัด อัคคีภัย มีพื้นที่ประสบภัย จำนวน 956 หมู่บ้าน/ชุมชน ใน 72 จังหวัดและกรุงเทพมหานคร โรคระบาดในสัตว์
ปภ.รายงานเกิดวาตภัยในพื้นที่ 14 จังหวัด คลี่คลายแล้วทุกจังหวัด - เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัย – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณอ่าวเบงกอลตอนล่างเคลื่อนเข้าสู่บริเวณทะเลอันดามันประกอบกับลมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมภาคใต้ฝั่งตะวันตกและทะเลอันดามันมีกำลังแรงขึ้นทำให้มีฝนตกเพิ่มขึ้นและฝนตกหนักบางพื้นที่โดยในรอบ 24 ชั่วโมงที่ผ่านมาเกิดวาตภัยใน
ปภ.รายงานเกิดวาตภัยในพื้นที่ภาคเหนือ 5 จังหวัด ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ว – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานสถานการณ์พายุฝนฟ้าคะนองกับมีลมกระโชกแรงในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง รวมถึงกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่งผลให้เกิดวาตภัยและลูกเห็บตก ตั้งแต่วันที่ 7 ก.พ. 64 - ปัจจุบัน (วันที่ 10 ก.พ. 64 เวลา 06.00 น.) เกิดวาตภัยและลูกเห็บตกในพื้นที่ 5 จังหวัด
ปภ.รายงานเกิดวาตภัยในพื้นที่ภาคเหนือ 4 จังหวัด ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ว – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) จากสถานการณ์พายุฝนฟ้าคะนองกับมีลมกระโชกแรงในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่งผลให้เกิดวาตภัยและลูกเห็บตก ตั้งแต่วันที่ 7 ก.พ. 64-ปัจจุบัน เกิดวาตภัยและลูกเห็บตกในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ลำพูน และกำแพงเพชร รวม 5 อำเภอ 6 ตำบล 7 หมู่บ้าน
ปภ.รายงานสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ 4 จังหวัด เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างเต็มกำลัง – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานอิทธิพลมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทยและอ่าวไทยมีกำลังค่อนข้างแรง ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณชายฝั่งสหพันธรัฐมาเลเซีย ทำให้บริเวณภาคใต้ตอนล่างมีฝนตกหนักบางพื้นที่ ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำไหลหลาก ดินสไลด์ และวาตภัย
ปภ.รายงานยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ 2 จังหวัด เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่อเนื่อง – และปัตตานี ซึ่ง ปภ. ได้ร่วมกับหน่วยทหาร จังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เร่งให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยและคลี่คลายสถานการณ์ โดยเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่น้ำท่วมและสำรวจความเสียหายครอบคลุมทุกด้าน เพื่อให้การช่วยเหลือตามระเบียบกระทรวงการคลังฯกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.)
ปภ.รายงานยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ 3 จังหวัด เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่อเนื่อง – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานอิทธิพลมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยมีกำลังแรง ทำให้ภาคใต้ตอนล่างมีฝนตกหนักบางแห่ง ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำไหลหลาก ดินสไลด์ และวาตภัย ตั้งแต่วันที่ 16 ธันวาคม 2563 จนถึงปัจจุบัน (22 ธันวาคม 2563 เวลา 06.00 น.) รวม 3 จังหวัด ได้แก่ นราธิวาส
ปภ.รายงานยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ 4 จังหวัด เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่อเนื่อง – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานอิทธิพลมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยมีกำลังแรง ทำให้ภาคใต้ตอนล่างมีฝนตกหนักบางแห่ง ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำไหลหลาก ดินสไลด์ และวาตภัย ตั้งแต่วันที่ 16 ธันวาคม 2563 จนถึงปัจจุบัน (21 ธันวาคม 2563 เวลา 06.00 น.) รวม 3 จังหวัด ได้แก่ นราธิวาส
ปภ.รายงานยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ 4 จังหวัดเร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างต่อเนื่อง – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานอิทธิพลมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้ ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมประเทศมาเลเซีย ส่งผลให้บริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำไหลหลาก และวาตภัย ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน - ปัจจุบัน
ปภ.รายงานสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ 7 จังหวัด เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยและคลี่คลายสถานการณ์อย่างเต็มกำลัง – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานอิทธิพลมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้ ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมประเทศมาเลเซีย ส่งผลให้บริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำไหลหลาก และวาตภัย ตั้งแต่วันที่ 25
ปภ.รายงานยังคงมีสถานการณ์น้ำท่วมขังในพื้นที่ภาคใต้ 7 จังหวัด เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยและคลี่คลายสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานอิทธิพลมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้ ประกอบกับหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมประเทศมาเลเซีย ส่งผลให้บริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำไหลหลาก และวาตภัย ตั้งแต่วันที่ 25
ปภ.รายงานสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และวาตภัย 6 จังหวัด คลี่คลายแล้วยังคงประสานให้การช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานจากอิทธิพลความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นที่ได้แผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยและทะเลจีนใต้ ประกอบกับลมตะวันออกพัดปกคลุมประเทศไทย และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้
ปภ.รายงานยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในจังหวัดนครราชสีมา สุพรรณบุรี และชุมพร เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัย – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงาน จากอิทธิพลพายุระดับ 2 (ดีเปรสชัน) ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2563 - ปัจจุบัน (11 พฤศจิกายน 2563 เวลา 06.00 น.)
ปภ.รายงานยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยใน 5 จังหวัด เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยครอบคลุมทุกด้าน – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานจากอิทธิพลพายุระดับ 2 (ดีเปรสชัน) ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2563 – ปัจจุบัน (31 ตุลาคม 2563 เวลา 06.00 น.)
ปภ.รายงานสถานการณ์อุทกภัย ดินสไลด์ และวาตภัย 28 จังหวัด ยังคงมีสถานการณ์น้ำท่วมขัง 11 จังหวัด เร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่และช่วยเหลือผู้ประสบภัย – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานจากอิทธิพลพายุระดับ 2 (ดีเปรสชัน) ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2563 – ปัจจุบัน (19
ปภ.รายงานสถานการณ์อุทกภัย ดินสไลด์ และวาตภัย 20 จังหวัด ยังคงมีสถานการณ์น้ำท่วมขัง 7 จังหวัด เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยทุกด้าน – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานจากอิทธิพลพายุระดับ 2 (ดีเปรสชัน) ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2563 – ปัจจุบัน (16 ตุลาคม 2563 เวลา
ปภ.รายงานเกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำไหลหลาก และวาตภัย ในพื้นที่ 11 จังหวัดเร่งให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยโดยด่วน – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) รายงานจากอิทธิพลพายุระดับ 2 (ดีเปรสชัน) กอปรกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2563 – ปัจจุบัน (11 ตุลาคม 2563 เวลา 06.00 น.)
ปภ.รายงานสถานการณ์น้ำไหลหลาก 11 จังหวัด และวาตภัยในจังหวัดกาฬสินธุ์ เร่งให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย – นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า จากอิทธิพลร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามันตอนบน ประเทศไทย และอ่าวไทย ในช่วงวันที่ 20 สิงหาคม 2563 ถึงปัจจุบัน (28 ส.ค.63 เวลา 06.00 น.) ส่งผลให้เกิดน้ำไหลหลาก และวาตภัย แยกเป็น
ปภ.รายงานเกิดน้ำป่าไหลหลาก 5 จังหวัด และวาตภัย 2 จังหวัด เร่งให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย – นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า จากอิทธิพลร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณทะเลจีนใต้ ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ตั้งแต่วันที่ 6 สิงหาคม 2563 ถึงปัจจุบัน (13 ส.ค.63 เวลา 06.00 น.) ส่งผลให้เกิดน้ำป่าไหลหลาก
ปภ.รายงานเกิดวาตภัยในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานการณ์คลี่คลายแล้ว เร่งให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย – นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า อิทธิพลร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณทะเลจีนใต้ ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยในช่วงวันที่ 6 สิงหาคม 2563 จนถึงปัจจุบัน (9 ส.ค. 63) ส่งผลให้มีพื้นที่ได้รับผลกระทบจากวาตภัย 1
ปภ.รายงานเกิดวาตภัยในพื้นที่ 9 จังหวัด คลี่คลายแล้วทุกจังหวัด เร่งให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย – นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า อิทธิพลมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามันและประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎาคม 2563 จนถึงปัจจุบัน (23 ก.ค. 63) ส่งผลให้มีพื้นที่ได้รับผลกระทบจากวาตภัย 10 จังหวัด ได้แก่ ลำพูน พิษณุโลก อุดรธานี หนองบัวลำภู นครราชสีมา ขอนแก่น ชลบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี
ปภ.รายงานเกิดวาตภัยในพื้นที่ 7 จังหวัด เร่งให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย – นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า อิทธิพลมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามันและประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎาคม 2563 จนถึงปัจจุบัน (16 ก.ค. 63 เวลา 06.00 น.) มีพื้นที่ได้รับผลกระทบจากวาตภัย 7 จังหวัด 9 อำเภอ 12 ตำบล 14 หมู่บ้าน บ้านเรือนประชาชนได้รับความเสียหาย 75 หลัง เรือประมงขนาดเล็ก 4 ลำ รถยนต์