กระทรวงเกษตรฯ ดีเดย์ มีนานี้สตาร์ทเครื่อง ดันงบ 3,100 ล้านบาท จ้างแรงงานเกษตรกรทั่วประเทศ 10,674 คน บรรเทาผลกระทบวิกฤตภัยแล้ง – นายอลงกรณ์ พลบุตร ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ตามที่ นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีความห่วงใยเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้งจึงได้กำหนดนโยบายการช่วยเหลือต่าง ๆ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่เกษตรกรทั่วประเทศ โดยมอบหมายให้ กรมชลประทาน
สกสว. เผยความรุดหน้า 2 โปรเจ็ค
“Enrich” และ “Star” งานวิจัยกู้ 'วิกฤตภัยแล้ง’ – โดยในเวทีประชุมรายความก้าวหน้าโครงการวิจัยด้านการแก้ปัญหาภัยแล้งท
Jan 2020
ปภ.แนะรู้รับ ปรับทัน ป้องกันภัยแล้ง...ลดปัญหาการขาดแคลนน้ำ – ภาคประชาชน ใช้น้ำอย่างประหยัดและคุ้มค่า โดยปิดก๊อกน้ำให้สนิททุกครั้ง หลังใช้งาน และจัดหาภาชนะรองน้ำ พร้อมนำน้ำ ที่เหลือไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น อาทิ ถูบ้าน รถน้ำต้นไม้ เตรียมภาชนะกักเก็บน้ำ โดยจัดหาและซ่อมแซมภาชนะใส่น้ำให้พร้อมสำหรับสำรองน้ำไว้ใช้อุปโภคบริโภค เลือกใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำ โดยติดตั้งอุปกรณ์เติมอากาศที่ก๊อกน้ำ ฝักบัว หรือชักโครก เพื่อเพิ่มแรงดันน้ำและลดปริมาณการใช้น้ำ
ปภ.แนะวางแผนรับมือปัญหาขาดแคลนน้ำ...ลดผลกระทบวิกฤตภัยแล้ง – นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กล่าวว่า ระยะนี้อยู่ในช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องฤดูร้อน บริเวณตอนบนของประเทศไทยมีฝนตกน้อยลง ทำให้หลายพื้นที่เสี่ยงต่อการประสบปัญหาภัยแล้ง ซึ่งการขาดแคลนน้ำส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน และภาคการเกษตร เพื่อลดผลกระทบจากปัญหาภัยแล้ง กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ขอแนะการปฏิบัติตนเพื่อรับมือและลดผลกระทบ
“เชอรี่” ชวนเพื่อนซี้ “ริต้า -
รถเมล์ - จุ๋ย – วิกกี้ – เจนสุดา” หาเงินแก้วิกฤตภัยแล้ง ในโครงการ “ลิตเติล ฟอเรสต์ ปี 2 สร้างฝายชะลอน้ำ...ตามรอยพ่อ”
May 2017
ปภ.จัดสัมมนาถอดบทเรียนวิกฤตภัยแล้ง ปี พ.ศ. 2558 – 2559 สานพลังประชารัฐแก้ไขปัญหาภัยแล้งยั่งยืน – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า ในช่วงปี พ.ศ. 2558 - 2559 ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนิโญ ทำให้มีปริมาณฝนน้อยกว่าเกณฑ์ปกติ ซึ่งปริมาณน้ำต้นทุนของประเทศมาจากน้ำฝนเป็นหลัก สถานการณ์น้ำในภาพรวมจึงอยู่ในเกณฑ์น้อย ประกอบกับความต้องการใช้น้ำที่เพิ่มขึ้นของทุกภาคส่วน
“สิงห์อาสาโมเดล” สู้ภัยแล้งปี
59 ระดมทีมร่วมฝ่าวิกฤตครบวงจรต้นน้ำ-ปลายน้ำ – นอกจากการทีมสิงห์อาสาได้มีการตั้งรับกับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างทันท่วงท
Jul 2016
กระทรวงเกษตรฯ ปรับแผนการระบายน้ำเขื่อนแควน้อยฯ และเขื่อนปาสักฯ รองรับน้ำหลากปลายฤดูฝน หลังกรมอุตุนิยมวิทยา คาดฤดูฝนปีนี้ปริมาณฝนตกชุกกว่าค่าเฉลี่ยเล็กน้อย ส่งผลดีต่อพื้นที่ลุ่มต่ำของลุ่มน้ำเจ้าพระยา – สำหรับสถานการณ์น้ำใช้การได้ใน 33 เขื่อนหลัก ขณะนี้ (ณ วันที่ 8 ก.ค.59) มีปริมาณ 7,816 ล้าน ลบ.ม.เปรียบเทียบกับปี 2556, 2557, 2558 พบว่ามีปริมาณที่ใกล้เคียงกัน โดยมีปริมาณ 8,600 , 9,200 และ 8,400 ล้าน ลบ.ม. ตามลำดับ ส่วนน้ำใน 4
สมาคมผู้เลี้ยงสุกร ชี้อากาศร้อนจัดแล้งยาว หมูออกสู่ตลาดน้อยสวนทางความต้องการเพิ่ม – นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า วิกฤติภัยแล้งในปีนี้รุนแรงและยาวนานกว่าที่คาดการณ์ไว้ ประกอบกับอากาศที่ร้อนจัดในเดือนเมษายนและพฤษภาคมทำให้สุกรขุนกินอาหารน้อยลง ทำให้สุกรโตช้า เกษตรกรจำเป็นต้องยืดระยะเวลาการเลี้ยงออกไปอีก 2-4 สัปดาห์ เพื่อให้ได้น้ำหนักที่ตลาดต้องการ นอกจากนี้ยังมีโรคที่มากับอากาศร้อนจัดและการขาดน้ำอีก
กระทรวงเกษตรฯ เตรียมพร้อมเกษตรกร 187 ตำบล ป้องกันในพื้นที่เสี่ยงรับมือน้ำเค็มรุกพื้นที่เกษตร ใช้หลัก MRCF วิเคราะห์ พื้นที่ คน สินค้า ร่วมกับหลักของประชารัฐ แนะนำชุมชนต้นแบบที่สำเร็จเป็นแนวทางการรับมือ – นายโอฬาร กล่าวเพิ่มเติมว่า กรมส่งเสริมการเกษตรได้ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้เรื่องการป้องกันแก้ไขน้ำเค็มใน 187 ตำบล ที่เป็นพื้นที่เสี่ยง ทำให้เกษตรกรรู้วิธีการรับมือด้วยตนเอง
“ฉัตรชัย” เผยคาดมีปริมาณฝนตกช่วงต้นเม.ย. ช่วงบรรเทาความแห้งแล้งได้บางพื้นที่ ยันน้ำเค็มหนุนไม่กระทบน้ำประปาเดินหน้าผลิตได้ปกติ ชี้ 8 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรคืบ เบิกจ่ายงบประมาณแล้วเกือบ 50 % – ขณะที่การผลิตน้ำประปายืนยันว่าไม่มีการหยุดผลิตน้ำประปาในช่วงน้ำทะเลหนุนสูง ทำให้น้ำเค็มเกินค่ามาตรฐานจนไม่สามารถนำน้ำมาผลิตน้ำประปาได้ การประปานครหลวงจะแก้ไขปัญหาโดยการหยุดรับน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยา และใช้น้ำดิบจากคลองประปาที่สำรองไว้มาใช้แทน
แถลงข่าว กกร. เพื่อประกาศเจตนารมณ์ เรื่อง “ใช้น้ำประหยัด ร่วมขจัดภัยแล้ง” – กกร. ตระหนักถึงวิกฤตภัยแล้งที่กำลังเกิดขึ้นในประเทศไทย โดย ณ ขณะนี้ มีพื้นที่ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้งสูงถึง 17 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ พะเยา นครราชสีมา นครพนม มหาสารคาม บุรีรัมย์ กาญจนบุรี สระแก้ว เพชรบุรี สุโขทัย นครสวรรค์ ชลบุรี จันทบุรี น่าน ชัยนาท และสุรินทร์ นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่ขาดแคลนน้ำเป็นจำนวนสูงถึง 43 จังหวัด
โจ๋ มทร.ธัญบุรี สะท้อนความคิด
วิกฤตขาดแคลนน้ำ – รศ.ดร.ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี เปิดเผยว่า
Mar 2016