ข่าวประชาสัมพันธ์วิจารณ์วรรณกรรม | newswit

ธนาคารกรุงเทพ ผนึกกำลัง ประพันธสานส์
ธนาคารกรุงเทพ ผนึกกำลัง ประพันธสานส์
จัดค่ายอบรมนักวิจารณ์วรรณกรรมเยาวชน ผ่านระบบ Zoom ครั้งแรก รองรับวิถี New Normal – Oct 2020
งานสร้างสรรค์เยาวชนในโครงการ“อ่าน เขียน เรียนรู้ สู่งานวิจารณ์” ปีที่ 4 – โครงการ "อ่าน เขียน เรียนรู้ สู่งานวิจารณ์" ปีที่ 4 โครงการนี้ได้เริ่มเมื่อ 1 มี.ค. 2561 สิ้นสุด 8 ต.ค. 2561 เป็นโครงการฯ ที่มอบทุนรางวัลให้กับนักเรียน – นักศึกษา รวมมูลค่าทุนรางวัล 8 แสนบาท โดยการคัดเลือกผู้เข้ารอบจำนวน 40 ท่านสุดท้าย จากการเขียนบทวิจารณ์หนังสือวรรณกรรมประเภท สารคดี กวีนิพนธ์ นวนิยาย เรื่องสั้น อย่างใดอย่างหนึ่งที่ได้รับรางวัลดังนี้
“ธ.กรุงเทพ - ประพันธ์สาส์น” ร่วมมือจัดโครงการ
“ธ.กรุงเทพ - ประพันธ์สาส์น” ร่วมมือจัดโครงการ
“อ่าน เขียน เรียนรู้ สู่งานวิจารณ์” ปีที่ 3 – ทางด้าน คุณอาทร เตชะธาดา กรรมการผู้จัดการสำนักพิมพ์ประพันธ์สาส์น Oct 2017
“ธ.กรุงเทพ - ประพันธ์สาส์น” ร่วมมือจัด
“ธ.กรุงเทพ - ประพันธ์สาส์น” ร่วมมือจัด
โครงการ “อ่าน เขียน เรียนรู้ สู่งานวิจารณ์” ปีที่ 2 – ทางด้าน คุณอาทร เตชะธาดา Oct 2016
“ประพันธ์สาส์น-ธ.กรุงเทพ” ร่วมมือจัดโครงการ “อ่าน เขียน เรียนรู้ : ค่ายวิจารณ์วรรณกรรม” สร้างสรรค์เยาวชนไทยรุ่นใหม่ สู่นักวิจารณ์ไฟแรง – โดยได้รับการสนับสนุนจาก ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ผลิตภัณฑ์แอร์โรว์ และบริษัท สำนักพิมพ์ประพันธ์สาส์น จำกัด ที่ให้โอกาสและส่งเสริมให้เยาวชนไทย ได้เรียนรู้ พัฒนา ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน เพื่อสร้างนิสัยรักการอ่านของน้องๆ เยาวชนไทยให้มีรากฐานที่แข็งแรง ทางด้าน คุณอาทร เตชะธาดา
สำนักพิมพ์ประพันธ์สาส์น จัดกิจกรรมออกค่าย “นักวิจารณ์วรรณกรรม” – โครงการ “อ่าน เขียน เรียนรู้ : ชิงทุนการศึกษาธนาคารกรุงเทพ ผ่านงานวิจารณ์วรรณกรรม” โครงการนี้ได้เริ่มเมื่อ 1 ก.ย. 2557 สิ้นสุด 31 มี.ค. 2558 เป็นโครงการฯ ที่มอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียน – นักศึกษา รวมมูลค่าทุนการศึกษา 2 ล้านบาท โดยการคัดเลือก ผู้เข้ารอบจำนวน 30 ท่านสุดท้าย จากการส่งประกวดสรุปใจความสำคัญ หนังสือโครงการชมนาด เพื่อเข้าอบรมใน
นักวิจารณ์วรรณกรรมไทยจำเป็นสำหรับบรรณพิภพ ? – นักวิจารณ์วรรณกรรมที่วงการใช้กันอยู่เวลานี้ อายุน้อยที่สุดเท่าใด ? ใครมีคำตอบ ? นี่คือสาเหตุแห่งความจำเป็นที่ต้องมีค่ายสร้างนักวิจารณ์วรรณกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเริ่มสร้างกัน ตั้งแต่ยังเป็นเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่รักการอ่าน ต่อยอดด้วยการมอบทุนการศึกษาและกิจกรรมเข้าค่ายฝึกอบรมติวเข้ม ด้วยงบประมาณกว่า 2 ล้านบาท พร้อมร่วมกิจกรรมนานาสันทนาการในโครงการ “อ่าน เขียน เรียนรู้ :
มูลนิธิเอสซีจี ชวนสุนทรียสนทนาล้อมวงวิจารณ์วรรณกรรม “สวนโลก” – เดือนพฤศจิกายนนี้ มูลนิธิเอสซีจีชวนอ่านนวนิยายวรรณกรรมชุมชนอันแสนงดงามราวบทกวี “สวนโลก” ของเรวัตร์ พันธุ์พิพัฒน์ กวีซีไรต์ ปี 2547 แล้วมาล้อมวงสนทนาทัศนะวิจารณ์อย่างลุ่มลึกกับ ชมัยภร แสงกระจ่าง นักวิจารณ์ชั้นครู และร่วมถกเถียงแลกเปลี่ยน พูดคุย สังสรรค์กับนักเขียนแบบคนกันเอง ในวันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2556 เวลา 13.30-15.00 น. ณ ร้านหนังสือบุ๊คโมบี้ รีดเดอร์ส ชั้น 4
ภาพข่าว: มูลนิธิเอสซีจี จัดกิจกรรมวรรณกรรมวิจารณ์ ชวนล้อมวงแลกเปลี่ยนความคิดกับนวนิยาย “ในรูปเงา” – กรุงเทพฯ--16 ส.ค.--เอสซีจี มูลนิธิเอสซีจี จัดกิจกรรมวรรณกรรมวิจารณ์ปีที่ 3 ชวนคนรักอ่านเขียนเรียนคิดมาร่วมล้อมวงชงประเด็นวิจารณ์วรรณกรรม โดยได้รับเกียรติจากอำไพ สังข์สุด (แถวยืน ที่ 5 จากซ้าย) นักเขียนเมืองเพชรบุรีเจ้าของนวนิยาย “ในรูปเงา” ที่ใช้พลังของภาษาสร้างชีวิตให้ตัวละครอย่างโดดเด่นจนเข้ารอบการประกวดรางวัลซีไรต์ประจำปี 2555
นานมีบุ๊คส์เปิดตัวโครงการยกระดับคุณภาพการอ่าน ของเยาวชนไทยด้วยวรรณกรรมชั้นเยี่ยม – กรุงเทพฯ--20 ต.ค.--นานมีบุ๊คส์ บริษัท นานมีบุ๊คส์ จำกัด จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวโครงการยกระดับคุณภาพการอ่านของเยาวชนไทยด้วยวรรณกรรมชั้นเยี่ยม เชิญชวนนักเรียน นักศึกษา ร่วมส่งผลงานเข้าประกวดในหัวข้อ “การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม” จากผลงานเขียนของ “คุณประภัสสร เสวิกุล” นักเขียนคุณภาพและคอลัมนิสต์ชื่อดังของประเทศไทย กับผลงานคุณภาพ จำนวน 12 เรื่อง
จุฬาฯ ขอเชิญชวนประกวดบทวิจารณ์วรรณกรรมดีเด่น ประจำปี 2546 – กรุงเทพฯ--10 ก.ย.--จุฬาฯ คณะกรรมการบริหารกองทุนหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ จัดให้มีการประกวดบทวิจารณ์วรรณกรรมดีเด่น ประจำปี 2546 ชิงรางวัล 20,000 บาท โดยคณะกรรมการกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะส่งเข้าประกวดดังต่อไปนี้ เป็นบทวิจารณ์วรรณกรรมไทยหรือวรรณกรรมที่แปลเป็นภาษาไทย เป็นบทวิจารณ์ที่เขียนเป็นภาษาไทย เป็นบทวิจารณ์ที่ไม่เคยตีพิมพ์มาก่อนหรือที่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ ระหว่างวันที่ 1
จุฬาฯ ขอเชิญร่วมการประกวดบทวิจารณ์วรรณกรรมดีเด่น – กรุงเทพฯ--7 ก.ย.--จุฬาฯ ขอเชิญร่วมประกวดบทวิจารณ์วรรณกรรมดีเด่น กองทุนหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ประจำปี ๒๕๔๔ โดยมีคุณสมบัติดังนี้ เป็นบทวิจารณ์วรรณกรรมไทยหรือวรรณกรรมที่แปลเป็นภาษาไทย เขียนเป็นภาษาไทย ซึ่งไม่เคยตีพิมพ์มาก่อนหรือที่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ ระหว่างวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๒- ๒๑ สิงหาคม ๒๕๔๔ ผู้มีสิทธิ์ส่งบทวิจารณ์ได้แก่ ผู้เขียนบทวิจารณ์เอง