ที่ปรึกษา รมว.กษ. เปิดการสัมมนา
เชื่อมโยงเครือข่ายศูนย์ข้าวชุมชนระดับประเทศและองค์กรชาวนา มุ่งผลักดันการทำงานแบบมีส่วนร่วมตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหก
Jun 2022
กระทรวงเกษตรฯ จัดรวมพลศูนย์ข้าวชุมชน เร่งเครื่องเพิ่มศักยภาพผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี 2 แสนตันภายในปี 63 รองรับความต้องการใช้ในประเทศ พร้อมผนึกเครือข่ายเชื่อมโยงการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ – นายประภัตร กล่าวต่อว่า ความต้องการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของไทยมีปริมาณสูง ประมาณ 1.4 ล้านตันต่อปี เพื่อใช้เพาะปลูกในพื้นที่นาประมาณ 60 ล้านไร่ อย่างไรก็ตามเมล็ดพันธุ์ข้าวสามารถใช้ปลูกต่อเนื่องได้ประมาณ 3 ครั้ง
แหล่งเรียนรู้ศูนย์ข้าวชุมชน บ้านสีชมภู จ.หนองคาย กับเทคนิคทำนาปาเป้า ช่วยเกษตรกรลดต้นทุน ผลผลิตงาม – นายวิณะโรจน์ ทรัพย์ส่งสุข เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า การปลูกข้าวในปัจจุบันมีหลากหลายวิธี ทั้งการปักดำ การหว่านข้าวแห้ง และการหว่านข้าวงอก ที่แตกต่างกันออกไปซึ่งศูนย์ข้าวชุมชน ต.น้ำโมง อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย นับเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของเกษตรกรผู้ปลูกพันธุ์ข้าว กข 6 ต้นเตี้ย และ กข22
กระทรวงเกษตรฯ นำผู้นำชาวนาจากทั่วประเทศเข้าพบนายกรัฐมนตรี เนื่องในโอกาสวันข้าวและชาวนาแห่งชาติ ประจำปี 2558 เชิดชูเกียรติชาวนาไทย พร้อมส่งเสริมให้ประชาชนรำลึกถึงความสำคัญของข้าวที่เป็นพืชอาหารหลักของคนไทย – พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า การจัดงานวันข้าวและชาวนาแห่งชาติ ในระหว่างวันที่ 5-6 มิถุนายน 2558 ณ กรมการข้าว เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระราชวงศ์ และเนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระเกียรติพระชนมายุ
สศก.7 ร่วมผลักดันนโยบายโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรแปลงใหญ่ จ.ชัยนาท – นางอัญชนา ตราโช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ชัยนาท (สศก.7) เปิดเผยว่า จากที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีนโยบายปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรแปลงใหญ่ โดยให้เกษตรกรรวมกลุ่มและรวมพื้นที่การผลิตเป็นแปลงใหญ่ ประมาณ 5,000 ไร่ เพื่อช่วยให้เกษตรกรรายย่อยเข้าถึงข้อมูลแหล่งเงินทุน ทรัพยากรและการตลาด มีอำนาจต่อรองในการหาปัจจัยการผลิตและการจำหน่ายผลผลิตนั้น ในการนี้ จังหวัดชัยนาท
อุบลราชธานีได้รับการเลือกเป็นจังหวัดแรกเพื่อการดำเนินโครงการ BRIA ในประเทศไทย – ดร. อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย ในฐานะผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อธิบายถึงเกณฑ์การเลือกสถานที่ว่า พื้นที่ที่เลือกควรมีส่วนร่วมของเกษตรกร โดยมี ‘Smart Farmer’ มีการขนส่งสะดวก แหล่งน้ำเพียงพอ การสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำบล และความเข้มแข็งของศูนย์เมล็ดพันธุ์ชุมชน (Community Seed Center) ศูนย์ข้าวชุมชน 8 แห่ง ที่เลือกอยู่ในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี
ศูนย์ข้าวชุมชนแก้วิกฤตขาดแคลนพันธุ์ – กรุงเทพฯ--25 มี.ค.--กรมส่งเสริมการเกษตร จังหวัดมหาสารคาม เกษตรกรรวมกลุ่มแก้ปัญหาวิกฤตขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี พร้อมสร้างเครือข่ายอาชีพเสริมรับวิกฤตภัยแล้ง สามารถพึ่งพาตนเองได้และสร้างรายได้อย่างงดงาม และเตรียมพร้อมกับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวว่า หากดูข้อมูลการปลูกข้าวเฉพาะในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม