จังหวัดเชียงใหม่ ททท.เชียงใหม่
และทุกภาคส่วน นำร่องสร้างความเชื่อมั่น ลดมลภาวะหมอก-ควัน เตรียมพร้อมรับนักท่องเที่ยว เทศกาลสงกรานต์ “ม่วนอก ม่วนใจ๋
Apr 2019
พัฒนา “ UAV”สำรวจจุดความร้อน และ “เครือข่ายเซ็นเซอร์” ช่วยแจ้งเตือน สถานการณ์หมอกควันไฟป่า ครั้งแรกของไทยติดตั้งแล้ว 95 แห่งทั่วจังหวัดน่าน – เป็นระยะเวลากว่า 10 ปีที่ปัญหาหมอกควันในพื้นที่ 10 จังหวัดภาคเหนือยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังและเกิดขึ้นซ้ำซากทุกปี ส่งผลกระทบหลายด้านทั้งระบบนิเวศ ป่าไม้ สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว และสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
ปภ.รายงานพื้นที่ภาคเหนือมีสถานการณ์หมอกควัน 2 จังหวัด พร้อมประสานทุกภาคส่วนเร่งแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันอย่างเต็มกำลัง – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า จากการประสานข้อมูลคุณภาพอากาศกับกรมควบคุมมลพิษ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 05.00 น. พบว่า พื้นที่ภาคเหนือ 9 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน แม่ฮ่องสอน น่าน แพร่ พะเยา และตาก ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10)
ปภ.รายงานพื้นที่ภาคเหนือมีสถานการณ์หมอกควัน 2 จังหวัด พร้อมประสานทุกภาคส่วนเร่งแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันอย่างเต็มกำลัง – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า จากการประสานข้อมูลคุณภาพอากาศกับกรมควบคุมมลพิษ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 05.00 น. พบว่า พื้นที่ภาคเหนือ 9 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน แม่ฮ่องสอน น่าน แพร่ พะเยา และตาก ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10)
ปภ. รายงานสถานการณ์ภัยแล้ง 27 จังหวัด และสถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 4 จังหวัด เร่งประสานแก้ไขปัญหาภัยแล้งและหมอกควันไม่ให้เกิดวิกฤตรุนแรง – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า ขณะนี้หลายจังหวัดประสบปัญหาภัยแล้ง โดยมีจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) จำนวน 27 จังหวัด 123 อำเภอ 540 ตำบล 4,223 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 5.63
กระทรวงเกษตรฯ เร่งเดินหน้าแก้ปัญหาหมอกควัน รณรงค์ลดเผาตอซังอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับปฏิบัติการฝนหลวง ชี้ผลการดำเนินงานดีขึ้นกว่าปีที่แล้ว 81% ยืนยันนักบินลาออกไม่กระทบการปฏิบัติงาน – สำหรับปัญหานักบินที่ลาออกไปในปีนี้จำนวน 4 คน ยืนยันว่าไม่กระทบต่อปฏิบัติการฝนหลวง เพราะขณะนี้มีนักบินทั้งหมด 54 คน อากาศยาน 41 ลำ ซึ่งถือว่าเพียงพอ และในปี 2560 จะมีการพิจารณารับนักบินเพิ่มเติมด้วย
เกษตรฯ เร่งแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาการเผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 ตั้งวอล์รูมติดตามสถานการณ์หมอกควันภาคเหนือ พร้อมดึงชุมชนร่วมลดเผาใน 1,200 หมู่บ้าน – ทั้งนี้ เพื่อให้การควบคุมและยับยั้งการเผาพื้นที่การเกษตร ไม่ให้เป็นสาเหตุหนึ่งในการเกิดปัญหาหมอกควันทางภาคเหนือ กระทรวงเกษตรฯ ได้กำหนดให้ปี 2559 เป็นปีแห่งการรณรงค์หยุดการเผาในพื้นที่การเกษตรโดยเน้นย้ำดำเนินการใน 4 มาตรการหลัก คือ มาตรการที่ 1 ด้านการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ จัดงานรณรงค์ในท้องถิ่น
คำแนะนำ ในการปฏิบัติสำหรับประชาชนทั่วไป กรณีหมอกควัน: กลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคระบบหัวใจ หลอดเลือด ระบบทางเดินหายใจ) – ไม่ควรออกนอกอาคาร ปิดประตูหน้าต่างไม่ให้ควันไฟหรือหมอกควันเข้าในอาคาร จำกัดการทำกิจกรรมนอกบ้านหรือนอกอาคาร ใส่หน้ากากป้องกันฝุ่นละอองขณะอยู่นอกอาคาร -หากมีอาการผิดปกติให้ปรึกษาแพทย์ กรณีไม่มีหน้ากากอนามัยแนะนำให้ใช้ผ้าโปร่งบางแล้วรองด้วยกระดาษทิชชู ๒ ชั้น ปิดปาก ปิดจมูก
คำแนะนำ ในการปฏิบัติสำหรับประชาชนทั่วไป กรณีหมอกควัน: ประชาชนทั่วไป – แนะนำให้ปิดประตูหน้าต่างไม่ให้ควันไฟหรือหมอกควันเข้าในอาคาร หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมนอกอาคารเป็นเวลานาน งดกิจกรรมและออกกำลังกายภายนอกบ้าน เช่น การเดินเล่น เต้นแอโรบิก ปั่นจักรยาน งดการเผาทุกประเภท ควรใส่แว่นกันลมขณะขับขี่มอเตอร์ไซด์ ควรเปิดไฟรถขณะขับขี่ ไม่รองรับน้ำฝนไปใช้ หากออกนอกอาคาร ควรใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นละออง
ปภ.รายงานสถานการณ์หมอกควันภาคใต้เริ่มดีขึ้น ปริมาณฝุ่นละอองลดลง พร้อมประสานการแก้ไขปัญหาหมอกควันอย่างต่อเนื่องจนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลาย – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.)เปิดเผยถึงสถานการณ์หมอกควันจากไฟป่าบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียที่พัดปกคลุมในพื้นที่หลายจังหวัดของภาคใต้ ว่า สถานการณ์หมอกควันเริ่มดีขึ้น ปริมาณฝุ่นละอองลดลงกว่าวันที่ผ่านมา คุณภาพอากาศอยู่ในระดับปานกลาง
ปภ.รายงานสถานการณ์หมอกควันภาคใต้มีแนวโน้มดีขึ้น ปริมาณฝุ่นละอองลดลง พร้อมประสานทุกภาคส่วนเร่งแก้ไขปัญหาเต็มกำลัง – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยถึงสถานการณ์หมอกควันจากไฟป่าบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่พัดปกคลุมในพื้นที่หลายจังหวัดของภาคใต้ ว่า สถานการณ์มีแนวโน้มดีขึ้นต่อเนื่อง ปริมาณฝุ่นละอองลดลง เนื่องจากมีฝนตกในพื้นที่ และกระแสลมเปลี่ยนทิศ ซึ่งจากการประสานข้อมูลคุณภาพอากาศกับกรมควบคุมมลพิษ ณ
รัฐมนตรีเกษตรฯ ตรวจเยี่ยมพร้อมมอบนโยบายกรมพัฒนาที่ดิน กรมฝนหลวงและการบินเกษตร และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สั่งเร่งทำฝนหลวงพร้อมเฝ้าระวังสถานการณ์หมอกควันภาคเหนือหลังสิ้นฤดูฝน – ส่วนสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร มอบหมายให้ปรับใช้ฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้สามารถถ่ายทอดนโยบายหลักของกระทรวงเกษตรฯ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลไปปรับใช้ได้อย่างสอดคล้องและบูรณาการ ขณะที่กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
ท้องฟ้ามาเลเซียจะปลอดโปร่งเร็วๆนี้ – อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยาแห่งประเทศมาเลเซีย ดาตุ๊ก เชย์ย กาย์ย่ะห์ อิสเมลล์ กล่าวว่า "ช่วงนี้ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่กำลังพัดผ่านจะช่วยให้สถานการณ์หมอกควันดีขึ้นเนื่องจากคาดว่าลมมรสุมดังกล่าวจะทำให้เกิดฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรง อย่างไรก็ดีคงต้องใช้เวลาอีกสักระยะที่หมอกควันดังกล่าวจะดีขึ้น แต่คาดว่าหลังวันที่ 10
ปภ. รายงานคุณภาพอากาศโดยรวม 7 จังหวัดภาคใต้เริ่มดีขึ้น แต่ยังคงต้องเฝ้าระวังสถานการณ์วิกฤติหมอกควันต่อเนื่องถึงช่วงต้น พ.ย. 58 – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยถึงสถานการณ์หมอกควันจากไฟป่า บนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่พัดปกคลุมในพื้นที่หลายจังหวัดของภาคใต้ ว่า ในภาพรวมฝุ่นละอองหมอกควัน มีแนวโน้มลดลงทุกพื้นที่ ซึ่งจากการประสานข้อมูลคุณภาพอากาศกับกรมควบคุมมลพิษ เมื่อวันที่ 9
ปภ.รายงานจังหวัดภูเก็ตคุณภาพอากาศอยู่ในระดับส่งผลกระทบต่อสุขภาพ พร้อมประสานจังหวัดภาคใต้ตอนล่างลดผลกระทบจากวิกฤตหมอกควัน – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยถึงสถานการณ์หมอกควันจากไฟป่าบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่พัดปกคลุมในพื้นที่หลายจังหวัดของภาคใต้ ว่า ส่งผลกระทบต่อทัศนวิสัยในการมองเห็นเส้นทางและมีผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งในภาพรวมฝุ่นละอองหมอกควันมีแนวโน้มลดลง ยกเว้นจังหวัดภูเก็ต
ปภ.บูรณาการทุกภาคส่วนติดตามสถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า สถานการณ์ไฟป่าบนเกาะ สุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ทำให้มีหมอกควันพัดปกคลุมทั่วพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดสตูล ภูเก็ต สงขลา ยะลา และนราธิวาส สถานการณ์ในภาพรวมปริมาณค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) ยังไม่เกินมาตรฐาน
เกษตรฯ ห่วงสถานการณ์ภัยแล้ง หมอกควันและไฟป่า เหตุแล้งเร็วและนาน มอบกรมส่งเสริมการเกษตรและกรมพัฒนาที่ดินย้ำเกษตรกรงดเผาตอซังลดอัตราการเกิดหมอกควันและงดทำนาปรังรอบสอง – “ปัจจุบันกระทรวงเกษตรฯ ได้ เร่งรัดในส่วนของมาตรการเชิงป้องกันปัญหาหมอกควันและลดปัญหาความแห้งแล้งมาโดยตลอด โดยในเรื่องการทำฝนหลวง หากสภาวะอากาศมีความชื้นสัมพัทธ์เพียงพอ ขณะนี้ได้ตั้งกลุ่มปฏิบัติการฝนหลวงไปปฏิบัติการอยู่ใน 5 ภูมิภาค
ปภ.รายงานสถานการณ์หมอกควัน พร้อมสั่งการจังหวัดคุมเข้มการเผาในพื้นที่ – กรุงเทพฯ--12 มี.ค.--ปภ. ปภ.รายงานสถานการณ์หมอกควันในจังหวัดเชียงราย แม่ฮ่องสอน ยังวิกฤตพร้อมสั่งการจังหวัดคุมเข้มการเผาในพื้นที่ นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กล่าวว่า ฝนที่ตกบริเวณพื้นที่ตอนบนของประเทศในระยะนี้ ทำให้สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือเริ่มคลี่คลาย แต่ยังคงมีพื้นที่ที่สถานการณ์หมอกควันอยู่ในขั้นวิกฤต และส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน รวม 2 จังหวัด 3
ปภ. แนะใช้ชีวิตช่วงหมอกควันปกคลุม – กรุงเทพฯ--23 ก.พ.--ปภ. กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แนะประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมอกควันปกคลุม งดเว้นการเผาวัสดุและการประกอบกิจกรรมที่ทำให้สถานการณ์หมอกควันรุนแรงมากขึ้น เพิ่มความระมัดระวังในการเดินทาง ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง หากจำเป็นต้องออกจากบ้านควรสวมแว่นตาและหน้ากากอนามัย เพื่อลดปริมาณการสูดดมควันพิษจากฝุ่นละอองเข้าสู่ร่างกาย นายวิบูลย์ สงวนพงศ์
ปภ.แนะใช้ชีวิตช่วงหมอกควันปกคลุม – กรุงเทพฯ--22 ก.พ.--ปภ. กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แนะประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมอกควันปกคลุม งดเว้นการเผาวัสดุและการประกอบกิจกรรมที่ทำให้สถานการณ์หมอกควันรุนแรงมากขึ้น เพิ่มความระมัดระวังในการเดินทาง ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง หากจำเป็นต้องออกจากบ้านควรสวมแว่นตาและหน้ากากอนามัย เพื่อลดปริมาณการสูดดมควันพิษจากฝุ่นละอองเข้าสู่ร่างกาย นายวิบูลย์ สงวนพงศ์
ปภ.รายงานสถานการณ์หมอกควันปกคลุมในจังหวัดสตูล – กรุงเทพฯ--8 ก.ค.--ปภ. นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กล่าวว่า ตามที่ได้เกิดสถานการณ์หมอกควันไฟป่าบนเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว ประเทศอินโดนีเซีย ลอยเข้ามาปกคลุมพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างฝั่งทะเลอันดามันโดยเฉพาะจังหวัดสตูล ตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม 2554 จนถึงปัจจุบัน ทำให้ทัศนวิสัยในการมองเห็นลดลง และอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน