รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2561 – หนี้รัฐบาล จำนวน 5,551,356.52 ล้านบาท มีรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ดังนี้ เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณและการบริหารหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 22,600 ล้านบาท ทั้งนี้ เป็นไปตามแผนการกู้เงินที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2562 และแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจำปีงบประมาณ 2562 ซึ่งเป็นการกู้เงินเพื่อพัฒนาประเทศ
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2560 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 มีจำนวน 6,090,230.67 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล 4,637,934.90 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจ 972,466.27 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 460,477.61 ล้านบาท และ หนี้หน่วยงานของรัฐ 19,351.89 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 30,586.06 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมกราคม 2560 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 มกราคม 2560 มีจำนวน 6,059,644.61 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 41.97 ของGDP โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล 4,596,971.41 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจ 979,480.31 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 463,685.79 ล้านบาท และ หนี้หน่วยงานของรัฐ 19,507.10ล้านบาท และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 มีจำนวน 5,944,236.79 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 42.39 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล 4,473,558.49 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 979,495.27 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 470,719.62 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ 20,463.41 ล้านบาท และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2559 – หนี้รัฐบาล จำนวน 4,491,860.05 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 20,639.83 ล้านบาท โดยการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดจาก การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ จำนวน 52,714 ล้านบาท โดยการออกพันธบัตรรัฐบาลทั้งจำนวน การลดลงของตั๋วเงินคลัง จำนวน 30,000 ล้านบาท การกู้เงินเพื่อการลงทุนจากแหล่งเงินกู้ในประเทศ จำนวน 2,178.97 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น (1)
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 มีจำนวน 5,988,386.53 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 42.73 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล 4,471,220.22 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 994,794.29 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 500,054.33 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ 22,317.69 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หนี้รัฐบาล จำนวน
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 สิงหาคม 2559 มีจำนวน 5,949,330.64 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.64 ของGDP โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล จำนวน 4,422,488.53 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน จำนวน 995,932.29 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 507,633.62 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ จำนวน 23,276.20 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 30 มิถุนายน 2559 มีจำนวน 5,924,055.53 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.83 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,373,288.14 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็น สถาบันการเงิน จำนวน 1,021,940.40 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 517,517.92 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ จำนวน 11,309.07 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ค. 2559 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดย สบน. ประจำเดือน พ.ค. 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 พฤษภาคม 2559 มีจำนวน 5,977,353.33 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.35 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,415,020.02 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็น สถาบันการเงิน จำนวน 1,028,771.82 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 521,614.04
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 พฤษภาคม 2559 มีจำนวน 5,977,353.33 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.35 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,415,020.02 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็น สถาบันการเงิน จำนวน 1,028,771.82 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 521,614.04 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ จำนวน 11,947.45 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ณ สิ้นเดือนเมษายน 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 30 เมษายน 2559 มีจำนวน 6,050,595.88 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 44.09 ของGDP โดยแบ่งเป็นหนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,474,219.15 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน จำนวน 1,039,689.49 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 524,402.57 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ จำนวน 12,284.67 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 มีนาคม 2559 มีจำนวน 6,013,649.86 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 44.03 ของ GDP* โดยแบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,431,683.97 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน จำนวน 1,039,910.82 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 525,523.70 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ จำนวน 16,531.37 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 29 กุมภาพันธ์ 2559 มีจำนวน 6,005,787.17 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 44.13 ของ GDP และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์เพิ่มขึ้นสุทธิ 25,126.50 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,415,351.76 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 27,865.09 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน จำนวน 1,044,482.35 ล้านบาท ลดลง
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้างและผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ณ สิ้นเดือนมกราคม 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 มกราคม 2559 มีจำนวน 5,980,660.67 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 44.06 ของ GDP และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมกราคมลดลงสุทธิ 24,383.29 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,387,486.67 ล้านบาท ลดลง 22,809.60 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน จำนวน 1,044,617.03 ล้านบาท ลดลง 431 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2558 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 ธันวาคม 2558 มีจำนวน 6,005,124.74 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 44.36 ของ GDP โดย GDP ปี 2558 เท่ากับ 13,537 พันล้านบาท (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ 15 กุมภาพันธ์ 2559) และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนธันวาคมเพิ่มขึ้นสุทธิ 29,358.39 ล้านบาท โดยการเปลี่ยนแปลงของหนี้สาธารณะมีรายละเอียด
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2558 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ – การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ จำนวน 109,075.46 ล้านบาท เพื่อรักษาระดับเงินคงคลังให้เพียงพอต่อการใช้จ่ายของรัฐบาล ซึ่งระดับเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2558 อยู่ในระดับใกล้เคียงกับปีอื่นๆ ในช่วงเดียวกัน การกู้เงินเพื่อการลงทุนจากแหล่งเงินกู้ในประเทศและต่างประเทศ จำนวน 21,234.29 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2558 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ประจำเดือนตุลาคม 2558 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 ตุลาคม 2558 มีจำนวน 5,867,372.68 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.80 ของ GDP และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนตุลาคมเพิ่มขึ้นสุทธิ 84,049.49 ล้านบาท ในการนี้ สบน. ได้ปรับตัวเลขหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ณ สิ้นเดือนกันยายน 2558
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2558 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ประจำเดือนกันยายน 2558 – 1. รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2558 ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 30 กันยายน 2558 มีจำนวน 5,783,323.19 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.99 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 46,679.11 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ v หนี้ของรัฐบาล
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ส.ค. 2558 และ ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดย สบน. ประจำเดือน ส.ค. 2558 – 1. รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2558 ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 สิงหาคม 2558 มีจำนวน 5,736,644.08 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.81 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 18,171.13 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หนี้ของรัฐบาล มียอดหนี้คงค้างเพิ่มขึ้น
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2558 ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดย สบน. ประจำเดือนกรกฎาคม 2558 – ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 กรกฎาคม 2558 มีจำนวน 5,718,472.95 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.85 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 33,982.19 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้v หนี้ของรัฐบาล มียอดหนี้คงค้างเพิ่มขึ้น 21,185.07 ล้านบาท ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดจาก
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2558 ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ประจำเดือน มิ.ย. 2558 – 1. รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2558 ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 30 มิถุนายน 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น 5,682,490.76 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.36 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะลดลงสุทธิ 2,516.86 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ·
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ค.2558 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ประจำเดือน พ.ค. 2558 – 1. รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2558 ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 พฤษภาคม 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น 5,687,007.62 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.58 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะลดลงสุทธิ 88,702.91 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ · หนี้ของรัฐบาลลดลง
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ค.2558 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ประจำเดือน พ.ค. 2558 – 1. รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2558ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 พฤษภาคม 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น 5,687,007.62 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.58 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะลดลงสุทธิ 88,702.91 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หนี้ของรัฐบาลลดลง 73,893.27
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนเมษายน 2558 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ประจำเดือนเมษายน 2558 – 1. รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนเมษายน 2558ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 30 เมษายน 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น 5,775,710.53 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.46 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 45,191.30 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน มี.ค. 2558 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ประจำเดือน มี.ค. 2558 – ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 มีนาคม 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น 5,730,519.23 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.33 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 10,093.66 ล้านบาท ทั้งนี้ สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP มีการเปลี่ยนแปลงลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากเมื่อวันที่ 18
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.พ. 2558 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะประจำเดือน ก.พ. 2558 – หนี้ของรัฐบาลเพิ่มขึ้น 73,393.51 ล้านบาท ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดจาก- การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ จำนวน 50,859.81 ล้านบาท- การออกตั๋วเงินคลังเพื่อบริหารดุลเงินสด จำนวน 15,000 ล้านบาท- การกู้เงินเพื่อการลงทุน จำนวน 2,512.04 ล้านบาท ประกอบด้วย
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมกราคม 2558 และ ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ประจำเดือน มกราคม 2558 – 1. รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมกราคม 2558 ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 มกราคม 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น 5,658,059.36 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 46.46 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า 34,085.53 ล้านบาท ซึ่งแบ่งเป็น 1) หนี้ของรัฐบาลเพิ่มขึ้น 42,109.72 ล้านบาท
สถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2557 – 1. หนี้ของรัฐบาล 3,949,560.49 ล้านบาท ลดลง 4,282.52 ล้านบาท 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,078,200.99 ล้านบาท ลดลง 5,792.77 ล้านบาท 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 589,670.89 ล้านบาท ลดลง 2,648.71 ล้านบาท 4. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 8,957.80 ล้านบาท ลดลง 1,490.40 ล้านบาท ทั้งนี้ รายละเอียดและสัดส่วนของหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2557 1.