CGTN: จีนเน้นย้ำเรื่องความมั่นคงด้านอาหารในสองการประชุมใหญ่ – ในวันอาทิตย์ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นวันที่สองของการประชุมสภาประชาชนแห่งชาติ (NPC) ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ได้ประชุมร่วมกับที่ปรึกษาทางการเมืองระดับชาติจากภาคเกษตรกรรม สวัสดิการ และประกันสังคม พร้อมเรียกร้องว่าอย่าละเลยประเด็นเรื่องความมั่นคงด้านอาหารความมั่นคงด้านอาหารเป็นหนึ่งในผลประโยชน์ขั้นพื้นฐานที่สุดของประเทศ และในขณะเดียวกันผู้นำจีนก็ตั้งคำถามว่า
ร่างพระราชบัญญัติทรัพย์อิงสิทธิ พ.ศ. .... ผ่านความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ – ร่างพระราชบัญญัติฯ ประกอบด้วย 17 มาตรา โดยมีหลักการและสาระสำคัญสรุปได้ ดังนี้ 1. กำหนดให้มีสินทรัพย์ชนิดใหม่ (new asset class) เรียกว่า "ทรัพย์อิงสิทธิ" ซึ่งเป็นสิทธิการใช้ประโยชน์ในอสังหาริมทรัพย์ระยะเวลาไม่เกิน 30 ปี ที่มีความคล่องตัวในการเปลี่ยนมือและใช้ประโยชน์ โดยให้ผู้ทรงทรัพย์อิงสิทธิสามารถโอนทรัพย์อิงสิทธิ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติเคาะร่างพระราชบัญญัติการร่วมลงทุน ระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. ….จุดเริ่มต้นมิติใหม่ของการร่วมลงทุน – นางปานทิพย์ ศรีพิมล ที่ปรึกษาด้านพัฒนารัฐวิสาหกิจ กล่าวเพิ่มเติมว่า พระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐพ.ศ.2556 (พ.ร.บ. ร่วมลงทุนฯ ปี 2556)ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันมีขอบเขตของกฎหมายที่กว้างขวางอันส่งผลให้มีโครงการที่ไม่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะต้องเข้ามาสู่กระบวนการตามกฎหมายดังกล่าว
ร่างพระราชบัญญัติการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ผ่านความเห็นชอบของ สนช. – ร่างพระราชบัญญัติฯ ประกอบด้วย 13 มาตรา โดยมีหลักการและสาระสำคัญสรุปได้ ดังนี้ 1. การขยายขอบเขตการทำธุรกรรมการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญาภายใต้พระราชบัญญัติการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา พ.ศ. 2551 ให้ครอบคลุมการทำสัญญาต่างตอบแทนทุกประเภท เพื่อให้การทำธุรกรรมการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญามีความหลากหลายมากขึ้น
ขอเชิญร่วมฟังการบรรยายและแถลงข่าว เรื่อง กฎหมาย กระท่อม และ กัญชา: จะไปได้ถึงไหน ใครได้ประโยชน์ – นายแพทย์ เจตน์ ศิรธรานนท์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ นายจิตนรา นวรัตน์ รองโฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พรบ.ฯ ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัย ซูเปอร์โพล และภาคีเครือข่ายด้านสาธารณสุข วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561 เวลา 09.00 – 12.00 น. ห้องประชุม สุรินทร์ โอสถานุเคราะห์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ก.ล.ต. เปิดรับฟังความคิดเห็นการแก้ไข พ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯ หลังปรับปรุงตามข้อสังเกตของกฤษฎีกา – สืบเนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ชุดยกระดับการกำกับดูแลตลาดทุนให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ซึ่งต่อมาสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.)ได้มีการปรับปรุงแก้ไขร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว ก.ล.ต. จึงขอเปิดรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้องอีกครั้งหนึ่ง
ผลของการอนุมัติงบประมาณปี 2562 ต่อเศรษฐกิจและปัญหาฐานะการคลังในอนาคต และ ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลหลังเลือกตั้งเพื่อการปฏิรูประบบงบประมาณ – ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้แสดงความเห็นหลังจากงบประมาณปี พ.ศ. 2562 จำนวน 3.3 ล้านล้านบาทผ่านการอนุมัติโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติโดยใช้เวลาเพียง 3 ชั่วโมงว่า เป็นกระบวนการจัดทำงบประมาณที่ขาดการตรวจสอบถ่วงดุล