การอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน
CFP – ThaiPFA พัฒนาแนวทางในการบรรยายหลักสูตรการวางแผนการเงินโดยมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนักวางแผนการเงินมืออาชี
Apr 2020
สมาคมนักวางแผนการเงินไทย จัดงานสัมมนา “TFPA Wealth Management Forum 2016” – 8.30 น. ลงทะเบียน 9.00 น. กล่าวต้อนรับ โดย คุณสาระ ล่ำซำ นายกสมาคมนักวางแผนการเงินไทย 9.15 น. การบรรยายหัวข้อ "ภาพรวมแนวโน้มเศรษฐกิจปี 2560" โดย ดร. เชาว์ เก่งชน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด 9.45 น. การบรรยายหัวข้อ "Regulatory Sandbox: Perspective from the Bank of Thailand" โดย คุณวิเรขา สันตะพันธุ์ ผู้อำนวยการอาวุโส
สมาคมนักวางแผนการเงินไทย จัดแถลงข่าว “การวางแผนการเงินกับอนาคตตลาดการเงินไทย” – หมายเหตุ: * คณะกรรมการมาตรฐานการวางแผนการเงิน (Financial Planning Standards Board Ltd. – “FPSB”) เป็นหน่วยงานที่ไม่มุ่งแสวงหากำไร มีหน้าที่บริหารจัดการและกำหนดกรอบความรู้ความสามารถ จรรยาบรรณ และหลักปฏิบัติต่างๆ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพวางแผนการเงินซึ่งอยู่ภายนอกประเทศสหรัฐอเมริกา และในประเทศสมาชิกของ FPSB
สมาคมนักวางแผนการเงินไทยเผยผลสำรวจประชาชนร้อยละ 96 เห็นความสำคัญเรื่องวางแผนการเงินมากที่สุด – นายธีระ ให้ความเห็นว่า “ปัญหาหนี้ครัวเรือนในปัจจุบันทวีความรุนแรงมากขึ้น และส่งผลกระทบต่อการออม และการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภาพรวม หากประชาชนมีความรู้ทางการเงิน และมีการวางแผนการเงินที่ดีจะช่วยสร้างภูมิคุ้มกันทางการเงิน ไม่สร้างภาระหนี้สินจนเกินตัว ซึ่งจะช่วยลดปัญหาดังกล่าวได้ในระยะยาว” “ผลการสำรวจสะท้อนให้เห็นว่า
ตลาดหลักทรัพย์ฯ เดินหน้าโครงการ Your First Stock ปี 3 ชูแนวคิด “วางแผน เลือกหุ้น ลงทุนคุณภาพ” – ดร. สันติ กีระนันทน์ รองผู้จัดการ หัวหน้าสายงานการตลาด ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เปิดเผยว่าในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ผู้ลงทุนรายบุคคลให้ความสนใจลงทุนในตลาดหุ้นไทยเพิ่มขึ้นอย่างมากโดยจำนวนบัญชีผู้ลงทุนเติบโตเฉลี่ย 14% ต่อปี เมื่อเทียบกับกว่า 5 ปีก่อนซึ่งเติบโตเพียงปีละ 3–5% และในปีล่าสุด (2557) จำนวนบัญชีเพิ่มขึ้นถึงเกือบ 20%
กรรมการสมาคมนักวางแผนการเงินไทยมีมติเลือกธีระ ภู่ตระกูล เป็นนายกสมัยที่ 2 – จากการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2557 สมาชิกสมาคมนักวางแผนการเงินไทย (TFPA) ได้มีการเลือกตั้งกรรมการสมาคมฯ ชุดใหม่ จำนวน 15 ท่าน แทนคณะกรรมการที่หมดวาระลงในเดือนเมษายน 2557 ทั้งนี้ กรรมการทั้ง 15 ท่าน ต้องมาจากการเป็นผู้แทนสมาชิกที่อยู่ในวิสาหกิจต่างๆ ได้แก่ หลักทรัพย์และอนุพันธุ์ ธนาคารพาณิชย์ ประกันภัยและประกันชีวิต บริการที่เกี่ยวเนื่องกับหลักทรัพย์และเงินทุน