กยท. มอบทุนการศึกษาแก่ลูกหลานชาวสวนยาง 11 ทุน ภายใต้โครงการ “สกย.สานฝันคนพันธุ์เกษตร” – นายทวีศักดิ์ คงแย้ม คณะกรรมการผู้รับทุนการศึกษา ในนามของการยางแห่งประเทศไทย โดยสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาและพัฒนาเยาวชนที่มีความรู้ ความสามารถ ซึ่งจะเป็นกำลังหลักและแรงขับเคลื่อนที่สำคัญของประเทศในระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เยาวชนที่มาจากครอบครัวของเกษตรกรชาวสวนยาง ดังนั้น สกย. จึงกำหนดให้มีโครงการ
พ.ร.บ.การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ควบรวม 3 องค์กรเดิม – เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 พระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ส่งผลให้เกิดรัฐวิสาหกิจแห่งใหม่ คือ การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) หรือ Rubber Authority Of Thailand (RAOT) ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม ที่ผ่านมา โดยดำเนินงานในรูปแบบองค์กรรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สกย. หนุนเกษตรกรเดินตามรอยพ่อหลวง นำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อชี้ทางออกให้ชาวสวนยางไทย – นายประสิทธิ์ หมีดเส็น รองผู้อำนวยการ รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) กล่าวว่า ในภาวะยางพารามีราคาตกต่ำ สกย. ได้เร่งสร้างความรู้ ความเข้าใจให้เกษตรกรในการปรับตัว เพื่อที่จะสามารถอยู่รอดได้ ไม่ว่าจะเป็นการลดต้นทุนการผลิต สนับสนุนให้เกษตรกรใช้ยางพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตสูง คือ พันธุ์ RRIT 251 และ พันธุ์
สกย. ขับเคลื่อนชาวสวนยาง พัฒนาแปรรูปผลผลิตคุณภาพ เตรียมพร้อมฤดูเปิดกรีด ปี ’58 เปิดตลาดยางทั่วประเทศ 108 แห่ง รองรับผลผลิตเกษตรกร – นายเชาว์ ทรงอาวุธ รองผู้อำนวยการ สกย. และ โฆษก สกย. เผยว่า ในช่วงฤดูกาลเปิดกรีดใหม่นี้ สกย. ขับเคลื่อนและพัฒนาชาวสวนยางให้มีการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ฤดูกาลเปิดกรีด โดยส่งเสริมให้ความรู้ตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ถูกต้อง รวมถึงการแปรรูปยางเพื่อเพิ่มมูลค่า
CSR ส่งท้ายก่อนสู่ กยท. เตรียมมอบทุน ป.ตรี ทายาทชาวยาง 220,000 บาท “สกย. สานฝันคนพันธุ์เกษตร” ติดต่อสมัครที่ สกย.ทุกแห่ง! ก่อน 30 มิ.ย.58 นี้ – นายประสิทธิ์กล่าวว่า โครงการดังกล่าวเป็นหนึ่งในกิจกรรมตามแผนการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ประจำปี 2558 ของ สกย. ที่ต้องการสร้างบุคลากรในภาคเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง นำสังคมไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่งในอนาคต เพราะตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษา
ฤกษ์ดี สกย.จ.ระยอง เปิด สกย. ระดับอำเภอ 2 แห่ง พร้อมบริการเกษตรกรในพื้นที่อย่างทั่วถึง – นายประสิทธิ์ หมีดเส็น รักษาการผู้อำนวยการ สกย. กล่าวว่าระยอง เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกยางพารามากที่สุดเป็นหนึ่งหนึ่งของภาคตะวันออก นับว่าเป็นพื้นที่ปลูกยางเดิมที่มีศักยภาพอย่างยิ่งของประเทศ โดย สกย.และหน่วยงานระดับจังหวัด ได้ตระหนักและให้ความสำคัญกับการประกอบอาชีพการทำสวนยาง ซึ่งได้มีการกำหนดให้ยางพาราเป็นพืชยุทธศาสตร์ที่สำคัญของจังหวัด
สกย. จัดสัมมนาครูยางในพื้นที่จังหวัดระยอง เร่งหาแนวทางก้าวผ่านวิกฤตยางพารา – นายประสิทธิ์ หมีดเส็น รักษาการ ผู้อำนวยการ สกย. กล่าวว่า ในปัจจุบันราคายางพาราในท้องตลาดมีความผันผวน ส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของพี่น้องเกษตรกรชาวสวนยาง ทั้งในพื้นที่ปลูกยางเดิมและปลูกยางใหม่ ซึ่งทางรัฐบาลได้มีนโยบายในการพัฒนายางพาราทั้งระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาราคายางตกต่ำจากการที่มีปริมาณผลผลิตยางเกินความต้องการ และเพื่อให้สอดรับกับนโยบายดังกล่าว ในปีงบประมาณ
สกย.จ.ยะลา แนะวิธีผลิตยางชำถุงที่ได้ผลในโครงการผลิตยางชำถุง แก้ปัญหายางชำถุงคุณภาพไม่ตรงกับความต้องการในพื้นที่ชายแดนใต้ – “ การผลิตยางชำถุงในช่วงแรก ๆ ต้องให้ความสำคัญ ตั้งแต่การเตรียมพื้นที่ การเอาดินใส่ถุง การนำต้นตอตายางลงในถุง เกษตรกรต้องมีความละเอียดและใส่ใจในการดูแลอย่างมาก หากผลิตยางชำถุงคุณภาพไม่ดีตั้งแต่ครั้งแรก จะทำให้ได้ตายางไม่มีคุณภาพ และไม่แตกตา ทำให้ผู้ผลิตหมดกำลังใจ นำมาปลูกและออกขายไม่ได้ แต่ถ้าใส่ใจทุกขั้นตอนการผลิต
สกย. จับมือสถาบันCIRAD พัฒนาระบบกรีดยางพารา ลดต้นทุน เพิ่มรายได้เกษตรกรชาวสวนยาง – ด้านนักวิจัยจากสถาบัน CIRAD กล่าวว่าได้นำระบบการกรีดยางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกรีด และเพิ่มประสิทธิภาพแรงงาน มานำเสนอ สกย. โดยพร้อมแนะนำระบบกรีดยางพาราที่ใช้ร่วมกับสารเร่ง ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของผลผลิตยางพารา และ เพิ่มประสิทธิภาพแรงงานของผู้กรีดยาง ทำให้การผลิตยางพาราของเกษตรกรมีประสิทธิภาพดีขึ้น สถาบัน CIRAD
สกย.เปิดบ้านประชุมเตรียมความพร้อมสู่ กยท. รับภารกิจใหม่ พัฒนายางทั้งระบบ – นายอำนวย ปะติเส รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ขณะนี้พระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.... ได้ผ่านความเห็นชอบของ สนช. เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2558 และนายกรัฐมนตรีได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงลงพระปรมาภิไธย สกย. ซึ่งเป็นองค์กรสำคัญที่จะเข้าสู่การเป็น กยท. จึงควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับ พ.ร.บ. การยางฯ
“อำนวย” มอบนโยบายการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การยางแห่งประเทศไทย บูรณาการรวมหน่วยงานยางพารา ขับเคลื่อนและดำเนินงานพัฒนายางพาราของประเทศไทยให้เป็นเอกภาพอย่างเป็นระบบครบวงจร – นายอำนวย กล่าวต่อไปว่า นับว่าเป็นพระราชบัญญัติการยางฯ ฉบับแรกของประเทศไทย ที่เกิดจากการบูรณาการรวมหน่วยงานยางพาราที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง องค์การสวนยาง และสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เป็นหน่วยงานใหม่ ภายใต้ชื่อ “การยางแห่งประเทศไทย”
สกย.เร่งเดินหน้า สร้างพันธมิตรด้านการสื่อสาร มุ่งกระจายข้อมูลโครงการแก้ปัญหายางพารา และความคืบหน้า กยท.สู่ชาวสวนยางพาราทั่วประเทศ – นายเชาว์ ทรงอาวุธ รองผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง ในฐานะโฆษก สกย. เผยว่า การดำเนินงานภายใต้โครงการแก้ไขปัญหายางพาราทั้งระบบที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบัน หลายโครงการมีความคืบหน้าไปมาก อาทิ โครงการควบคุมปริมาณการผลิต ซึ่งขณะนี้ มีเกษตรกรชาวสวนยาง ยื่นคำขอรับการสงเคราะห์ปลูกแทน จำนวน 39,990 ราย
สกย. ร่วมกับ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ส่งเสริมและผลักดัน สถาบันเกษตรกรชาวสวนยางก้าวสู่ตลาดโลกได้ด้วยตนเอง – นายเชาว์ ทรงอาวุธ รองผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) และในฐานะโฆษก สกย. เผยว่า สกย. ในฐานะองค์กรที่มีบทบาทหน้าที่หลักคือ ส่งเสริมการปลูกยางพาราให้กับเกษตรกรมาตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา กล่าวได้ว่า สกย.ได้ประสบความสำเร็จในการดำเนินภารกิจโดยสามารถขับเคลื่อนให้ประเทศไทย
กระทรวงเกษตรฯ โดยสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง จัดงาน “วันพระยารัษฎา บิดายางพาราไทย และวันยางพาราแห่งชาติ ประจำปี 2558” – นายอำนวย ปะติเส รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แถลงข่าวการจัดงานวันพระยารัษฎา บิดายางพาราไทย และวันยางพาราแห่งชาติ ประจำปี 2558 ว่า คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2547 เห็นชอบให้วันที่ 10 เมษายนของทุกปี เป็น “วันยางพาราแห่งชาติ”
สกย.สัมมนากลุ่มชาวสวนยางจังหวัดน่านก่อนปิดกรีด ย้ำ! ไทยชำนาญการผลิต ถ้าพัฒนาด้านตลาดดี ไปรุ่ง หวัง พ.ร.บ.การยางฯ คลุมรอบด้าน พัฒนายางไทยก้าวไกล – นายทรงธรรม จั่นทรัพย์ ที่ปรึกษาด้านการเกษตร สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) กล่าวถึง การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางไทยในปัจจุบัน โดยเฉพาะแหล่งปลูกยางใหม่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีการรวมกลุ่มเป็นสถาบันเกษตรกรที่มีความเข้มแข็ง มีพัฒนาการที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สกย.จ.นครศรีธรรมราช เขต 1 เปิดตลาดยาง สกย. สู่เครือข่ายตลาดกลางยางพารา บริการพี่น้องเกษตรกรชาวสวนยาง ให้ขายยางได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น – นายเชาว์ ทรงอาวุธ รองผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง เปิดเผยว่าตลาดยาง สกย. เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ สกย. ให้ความสำคัญโดยการเปิดตลาดประมูลยางระดับท้องถิ่นรองรับผลผลิตยางพาราให้เกษตรกรขายได้ในราคาที่เป็นธรรม ระดับราคาสูงกว่าต้นทุนการผลิต
ชาวสวนยางยะลาปลื้ม ได้ผลผลิตยางเพิ่มจากการใช้สารเคมีเร่งน้ำยางในสวนยางแก่ สกย.จ.ยะลา เร่งกระจายความรู้ ผ่านแปลงสาธิต เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่ 4 อำเภอ – นอกจากนี้ วิทยากรได้เน้นย้ำว่า“ การใช้สารเคมีเร่งน้ำยางอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและคำแนะนำจะไม่ส่งผลกระทบต่อต้นยาง สามารถเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรได้อีกทางหนึ่งในท่ามกลางปัญหาราคายางตกต่ำ หลาย ๆ คนอาจจะคิดว่าในภาวะราคายางตกต่ำ การลงทุนไปจะได้ไม่คุ้มกับผลที่ได้รับจึงไม่กล้าลงทุน
กษ.ตั้งคณะทำงานย่อยติดตามผลการบริหารจัดการพัฒนายางพาราทั้งระบบ ดัน สกย. เร่งขับเคลื่อน 108 ตลาดประมูลยาง – นายเชาว์ ทรงอาวุธ รองผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง ในฐานะประธานคณะทำงานย่อยประสานงานและติตตามผลการบริหารจัดการพัฒนายางทั้งระบบ เผยว่า กระทรวงเกษตรฯ นำโดยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายอำนวย ปะติเส ได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะทำงานย่อยเพื่อช่วยดำเนินงานในด้านการประสานงานและติดตามผลการบริหาร รวมทั้งด้านข้อมูลและการตลาด
กระทรวงเกษตรฯ เดินแผนสร้างรายได้เสริมในพื้นที่ว่างในสวนยางกว่า 1.12 ล้านไร่ สกย.พร้อมหนุนเงินทุนหมุนเวียนรายละไม่เกิน 50,000 บาท ในอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 และสร้างกลุ่มชาวสวนยางเพิ่มอำนาจในระบบตลาด – 1.เกษตรกรผู้โค่นยางแล้วปลูกยางใหม่ จะส่งเสริมและแนะนำให้ปลูกพืชคลุมดิน เช่น พืชตระกูลถั่ว (คาโลโปโกเนียม, เซนโตซีมา, เพอราเรีย, ซีรูเลียม,ปอเทือง) มันเทศ หรือหญ้าเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ไม่น้อยกว่า 80,000 ไร่ในปี 2558 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ดิน
สกย. ฟิตพร้อมลุยแก้ปัญหายางทั้งระบบ เร่งคืนความสุขให้ชาวสวนยาง – สำหรับโครงการควบคุมปริมาณการผลิตตามแนวทางควบคุมพื้นที่ปลูกยาง (ต.ค.57–ก.ย.64) สกย. จะสนับสนุนการโค่นยางเก่าที่ให้ผลผลิตไม่คุ้มค่า ปีละ 4 แสนไร่ โดยเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่ายางพารา ปีละ 1 แสนไร่ ระยะเวลา 7 ปี ทำให้ลดพื้นที่ปลูกยางแบบถาวรได้ 7 แสนไร่ โดยปีแรกผลผลิตยางลดลงประมาณ 1.01 แสนตัน และเมื่อครบปีที่ 7 จะลดผลผลิตยางได้ถึง 7.11 แสนตัน
ภาพข่าว: AFET เป็นวิทยากรให้กับ สกย. – กรุงเทพฯ--20 ส.ค.--AFET เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2556 ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย (AFET) ร่วมกับสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) จัดโครงการให้ความรู้แก่คณะกรรมการตลาดยาง และพนักงานสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ AEC โดยมี นายศักดิ์ดา ทองปลาด ผู้ช่วยผู้จัดการ สายงานธุรกิจ และผู้ทำการแทนผู้จัดการ ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
ภาพข่าว: AFET เป็นวิทยากรให้กับ สกย. – กรุงเทพฯ--19 ส.ค.--ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2556 ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย (AFET) ร่วมกับสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) จัดโครงการให้ความรู้แก่คณะกรรมการตลาดยาง และพนักงานสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ AEC โดยมี นายศักดิ์ดา ทองปลาด ผู้ช่วยผู้จัดการ สายงานธุรกิจ และผู้ทำการแทนผู้จัดการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับ สกย. จัดงานแถลงข่าววันยางพาราอาเซียน “ASEAN RUBBER DAY 2013” – กรุงเทพฯ--26 มี.ค.--ASEAN RUBBER DAY 2013 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) เจ้าภาพในการจัดประชุมวิชาการยางพาราระดับอาเซียนครั้งแรก ในงานวันยางพาราอาเซียน (ASEAN RUBBER DAY 2013) ณ โรงแรมฮิลตัน ภูเก็ต อาร์คาเดีย รีสอร์ท แอนด์ สปา โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ ๑๐-๑๒ เมษายน ๒๕๕๖