ก.แรงงาน จับมือ ILO พัฒนา GLP
อุตสาหกรรมอาหารทะเลไทยมีแนวปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดี สร้างความเชื่อมั่นตลาดส่งออกสินค้าประมง – นายบุญชอบ กล่าวว่า
Jun 2022
สินค้าประมงไทยส่อรุ่งรับปีใหม่ผู้นำเข้าประมงไทยยุโรปขานรับ...หลังไทยได้ใบเขียว – พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลป์ยะ รองนายกรัฐมนตรี เปิดเผยภายหลังเป็นประธานการประชุมผู้นำเข้าสินค้าประมงไทยในทวีปยุโรป ณ กรุงบรัสเซลล์ ประเทศเบลเยี่ยม โดยมีสมาคมผู้นำเข้าสินค้าประมงสหภาพยุโรปรายใหญ่เข้าร่วมงาน อาทิ บริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหาร ประจำสหราชอาณาจักร สมาคมการค้าที่สนับสนุนการค้าอย่างยั่งยืน (AMFORI) ว่า แม้ในช่วงที่มาประเทศไทยจะมีปัญหาความเชื่อมั่นในการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย
“หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย บทบาทหน้าที่สินค้าเกษตรและสินค้าประมง ปี 2019 – หากกล่าวถึงธุรกิจเกษตรและอาหารของไทย นับว่าเป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศ โดย สัดส่วนของภาคการเกษตรต่อ GDP ของประเทศไทย ในปี 2017 อยู่ที่ร้อยละ 8.2 และจำนวนแรงงานใน ภาคการเกษตร มีจำนวนทั้งสิ้นกว่า 11.78 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 31.5 ของแรงงานทั้งหมด และคิดเป็นครัวเรือนของประเทศไทยทั้งหมดมากกว่าร้อยละ 50 ของครัวเรือนทั้งหมดของประเทศ จากนโยบายของ
หอการค้าไทยและสภาหอการค้าฯ ร่วมกับ 3 สมาคมการค้าสินค้าประมง : ขอบคุณและชื่นชมรัฐบาลปลดล็อคใบเหลือง IUU Fishing – จากผลงานของความมุ่งมั่นและการดำเนินงานอย่างจริงจังของรัฐบาลไทยและหน่วยงานภาครัฐที่กล่าวมานั้น ส่งผลให้สหภาพยุโรป (EU) ได้ปลดล็อคใบเหลืองประเทศไทยในการทำการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU Fishing) ทั้งนี้ ภาคเอกชนไทย โดยหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสมาคมการค้าที่เกี่ยวข้อง ขอขอบคุณ
กรมประมง แจงด่วน !! สหรัฐอเมริกา ไม่ได้ห้ามนำเข้า “น้ำปลาไทย” ทั้งระบบ และไม่ได้สุ่มตรวจพบสารก่อมะเร็ง – ทั้งนี้ USFDA ได้เสนอแนวทางแก้ไขกรณีดังกล่าว 2 แนวทาง คือ (1) ให้โรงงานผู้ผลิตน้ำปลาของไทยปรับกระบวนการผลิตให้มีขั้นตอนการผ่านความร้อน หรือ (2) นำเสนอข้อมูลในเชิงวิทยาศาสตร์มายืนยันว่ากระบวนการผลิตน้ำปลามีการควบคุมที่เทียบเท่ากับข้อกำหนด HACCP ของ USFDA และสามารถป้องกันการเกิดสารพิษดังกล่าวได้ ซึ่งขณะนี้ โรงงานฯ
กรมประมง... พร้อมรับกฎระเบียบใหม่ (SIMP) จากสหรัฐฯ ติวเข้มผู้ประกอบการประมง ในการส่งออกสินค้าประมงอย่างเข้มงวด – ย้อนไปเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2560 จากการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศกฎระเบียบนำเข้าสินค้าประมงฉบับใหม่ เรียกว่า โครงการตรวจสอบการนำเข้าอาหารทะเล Seafood Import Monitoring Program (SIMP) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงาน ของคณะการทำงานต่อต้านการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม
ประมงเร่งประสาน อย. ตรวจสอบปลาสดที่นำเข้าจากฟูกุชิมะ ประเทศญี่ปุ่น หนุนสร้างความเชื่อมั่นในระบบตรวจสอบสินค้าสัตว์น้ำที่นำเข้าจากต่างประเทศ หวั่นผู้บริโภควิตก!!! ปนเปื้อนสารกัมมันตภาพรังสี – นางอุมาพร พิมลบุตร รองอธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า ขณะนี้ได้รับรายงานว่า มีการตรวจสอบการนำเข้าสินค้าชุดดังกล่าวแล้ว พบว่าบริษัทผู้นำเข้าได้นำเข้าปลากลุ่ม Hirame หรือ Flatfish ประกอบด้วยปลา Flounder จำนวน 100 กิโลกรัมและ Sole 30 กิโลกรัม จากประเทศญี่ปุ่น
เปิดไอเดีย “เกษตรกรรุ่นใหม่” ใช้นโยบายแปลงใหญ่ พลิกวิฤตโรคระบาด เปิดโอกาสเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต “กุ้งทะเล” – ""กุ้งทะเล"" เป็นสัตว์น้ำอีกชนิดหนึ่งที่กรมประมงได้ผลักดันเข้าสู่โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โดยที่ผ่านมาได้ประสบปัญหาวิกฤตจากโรคระบาดอีเอ็มเอส เมื่อปี พ.ศ. 2556-2557 ทำให้ปริมาณผลผลิตกุ้งทะเลลดลงอย่างมาก ส่งผลให้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเลได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก กระทบต่ออุตสาหกรรมกุ้งไทยทั้งระบบ
รมว. ก. เกษตรฯ ลงพื้นที่ตรวจการปฏิบัติงาน ระบบตรวจสอบย้อนกลับสินค้าประมงไทย ในพื้นที่ จ.สมุทรสาคร – เวลา / กิจรรม 05.00 น. ออกเดินทางจากกรมประมงไปยังองค์การสะพานปลาสมุทรสาคร ต.มหาชัย จ.สมุทรสาคร 07.30 – 09.30 น. รับฟังการสรุประบบตรวจสอบย้อนกลับสัตว์น้ำจากเรือประมงไทย และตรวจการปฎิบัติงานการควบคุมการเข้า-ออก ของเรือประมง พร้อมตรวจสอบการดำเนินงานทางระบบสารสนเทศ 09.00 – 10.50 น.
“บิ๊กฉัตร”ถกกรรมาธิการอียูยันไทยยึดหลักประมงยั่งยืน ด้านเอกชนผู้นำเข้าสินค้าประมงรายใหญ่ระดับโลกหนุนความร่วมมือปรับปรุงระบบการทำประมงและการตรวจสอบย้อนกลับของไทยตามมาตรฐานสากล – นอกจากนี้ ยังได้หารือร่วมกับ นายบ๊อบ มิลเล่อร์ ผู้จัดการบริหารบริษัทอาหารซี.พี.ที่อังกฤษ ซึ่งเป็นผู้มีส่วนร่วมหลักในการจัดตั้งเครือข่ายความร่วมมือนานาชาติด้านการบริหารจัดการสินค้าประมง (Seafood Task Force) และนายนิโคลัส ไวซ์