รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2561 – หนี้รัฐบาล จำนวน 5,551,356.52 ล้านบาท มีรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ดังนี้ เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณและการบริหารหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 22,600 ล้านบาท ทั้งนี้ เป็นไปตามแผนการกู้เงินที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2562 และแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจำปีงบประมาณ 2562 ซึ่งเป็นการกู้เงินเพื่อพัฒนาประเทศ
สบน. ชี้แจงหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2561 – สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะขอชี้แจงที่มาของยอดหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรงที่เพิ่มขึ้นในช่วงระยะเวลาดังกล่าวว่า เป็นการกู้เงินของรัฐบาลเพื่อดำเนินนโยบายการคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศภายใต้กรอบงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2557 - 2561 รวมถึงการกู้เงินเพื่อให้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อสำหรับลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญของประเทศ
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2561 – นายภูมิศักดิ์ อรัญญาเกษมสุข ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ได้รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 มีจำนวน 6,557,290.60 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 40.88 ของ GDP โดยแบ่งเป็นหนี้รัฐบาล 5,251,290.17 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจ 922,047.84 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน* (รัฐบาลค้ำประกัน) 375,133.92 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ 8,818.67 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2561 – หนี้รัฐบาล จำนวน 5,202,092.04 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 19,195.84 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนี้รัฐบาล ดังนี้ เงินกู้ภายใต้แผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2561 และการบริหารหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้นสุทธิ 22,836.99 ล้านบาท เนื่องจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณเพื่อนำไปลงทุนในการพัฒนาประเทศ สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจ จำนวน
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนเมษายน 2561 – หนี้รัฐบาล จำนวน 5,182,896.20 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 37,902.50 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนี้รัฐบาล ดังนี้ เงินกู้ภายใต้แผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2561 และการบริหารหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้นสุทธิ 36,089 ล้านบาท เนื่องจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณเพื่อนำไปลงทุนในการพัฒนาประเทศ สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจ จำนวน 49,410
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2561 – หนี้รัฐบาล จำนวน 5,145,028.98 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 9,945.30 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนี้รัฐบาล ดังนี้ เงินกู้ภายใต้แผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2561 และการบริหารหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้นสุทธิ 52,226.87 ล้านบาท เนื่องจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณเพื่อนำไปลงทุนในการพัฒนาประเทศ สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจ จำนวน
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2561 – เงินกู้ภายใต้แผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2561 และการบริหารหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้นสุทธิ 20,899.53 ล้านบาท เนื่องจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณเพื่อนำไปลงทุนในการพัฒนาประเทศ สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจ จำนวน 23,548.53 ล้านบาท และการลดลงของตั๋วเงินคลัง 2,649 ล้านบาท เงินกู้เพื่อการลงทุนจากแหล่งเงินกู้ในประเทศเพิ่มขึ้นสุทธิ 4,566.78 ล้านบาท
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2560 – หนี้รัฐบาล จำนวน 5,027,438.43 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 68,112.31 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนี้รัฐบาล ดังนี้ การกู้เงินตามแผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2561 และเพื่อการบริหารหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้นสุทธิ 66,940.50 ล้านบาท เนื่องจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณเพื่อนำไปลงทุนในการพัฒนาประเทศ สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจ จำนวน
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2560 – v หนี้รัฐบาล จำนวน 4,959,326.12 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 27,033.79 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนี้รัฐบาล ดังนี้ การกู้เงินตามแผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560 และพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปี 2560 รวมถึงเพื่อการบริหารหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้น 27,530.07 ล้านบาท การกู้เงินเพื่อการลงทุนจากแหล่งเงินกู้ในประเทศเพิ่มขึ้นสุทธิ 1,583.33
ชี้แจงข้อกำหนดเงินกู้ ADB – 1. หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2560 มีจำนวน 6,305,654.60 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหนี้ในประเทศ จำนวน 6,006,341.35 ล้านบาท หรือร้อยละ 95.25 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง และหนี้ต่างประเทศ จำนวน 299,313.25 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.75 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง โดยเป็นเงินกู้จากธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ซึ่งเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ จำนวน 7,888.91 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.64
ชี้แจงข้อกำหนดเงินกู้ ADB – 1. หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2560 มีจำนวน 6,305,654.60 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหนี้ในประเทศ จำนวน 6,006,341.35 ล้านบาท หรือร้อยละ 95.25 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง และหนี้ต่างประเทศ จำนวน 299,313.25 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.75 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง โดยเป็นเงินกู้จากธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ซึ่งเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ จำนวน 7,888.91 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.64
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2560 – v หนี้รัฐบาล จำนวน 4,959,164.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 97,923.22 ล้านบาท โดยรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนี้รัฐบาล มีดังนี้ · การกู้เงินตามแผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560 และพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปี 2560 รวมถึงเพื่อการบริหารหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้น 99,889.65 ล้านบาท แบ่งเป็น เงินกู้ระยะสั้น เพิ่มขึ้น 15,000 ล้านบาท
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2560 – v หนี้รัฐบาล จำนวน 4,861,262.73 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 57,718.76 ล้านบาท โดยรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนี้รัฐบาล มีดังนี้ · การกู้เงินตามแผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560 และพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปี 2560 รวมถึงเพื่อการบริหารหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้น 36,000 ล้านบาท แบ่งเป็น เงินกู้ระยะสั้น เพิ่มขึ้น 25,000 ล้านบาท
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2560 – หนี้รัฐบาล จำนวน 4,803,543.97 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 43,586.19 ล้านบาท โดยรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนี้รัฐบาล มีดังนี้ การกู้เงินตามแผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560 และพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปี 2560 รวมถึงเพื่อการบริหารหนี้สาธารณะ เพิ่มขึ้น 34,510 ล้านบาท แบ่งเป็น เงินกู้ระยะสั้น เพิ่มขึ้น 6,000 ล้านบาท
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2560 – หนี้สาธารณะคงค้างจำนวน 6,185,431.38 ล้านบาท มีรายละเอียด ดังนี้ หนี้รัฐบาล จำนวน 4,759,892.16 ล้านบาท ลดลงสุทธิ 152,385.45 ล้านบาท โดยรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนี้รัฐบาล มีดังนี้ • การกู้เงินล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ ลดลง 120,450 ล้านบาท
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2560 – การกู้เงินล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ จำนวน 65,000 ล้านบาท จากการออก R-bill จำนวน 45,000 ล้านบาท ซึ่งจะทยอยแปลงเป็นตราสารหนี้ระยะยาวต่อไป และพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ 20,000 ล้านบาท ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่กู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ที่จะครบกำหนดในวันที่ 16 มิถุนายน 2560 วงเงิน 162,000 ล้านบาท
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนเมษายน 2560 – กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินตามแผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560 และการกู้เงินเพื่อการบริหารหนี้สาธารณะ จำนวน 69,264.67 ล้านบาท เพื่อโดยแบ่งเป็น เงินกู้ระยะสั้น จำนวน 4,575 ล้านบาท โดยการออกตั๋วเงินคลัง เงินกู้ระยะยาว จำนวน 64,689.67 ล้านบาท ภายใต้การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณเพื่อนำไปลงทุนในการพัฒนาประเทศและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2560 – v หนี้รัฐบาล จำนวน 4,728,655.60 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 90,720.70 ล้านบาท โดยการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดจาก · กระทรวงการคลังได้ดำเนินการกู้เงินตามแผนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี2560 และการกู้เงินเพื่อการบริหารหนี้สาธารณะ จำนวน 60,076.99 ล้านบาท เงินกู้ระยะสั้น ลดลง 41,185 ล้านบาท เนื่องจากการลดลงของเงินกู้ระยะสั้นจากการปรับโครงสร้างหนี้เป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2560 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 มีจำนวน 6,090,230.67 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล 4,637,934.90 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจ 972,466.27 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 460,477.61 ล้านบาท และ หนี้หน่วยงานของรัฐ 19,351.89 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 30,586.06 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมกราคม 2560 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 มกราคม 2560 มีจำนวน 6,059,644.61 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 41.97 ของGDP โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล 4,596,971.41 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจ 979,480.31 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 463,685.79 ล้านบาท และ หนี้หน่วยงานของรัฐ 19,507.10ล้านบาท และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 มีจำนวน 5,944,236.79 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 42.39 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล 4,473,558.49 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 979,495.27 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 470,719.62 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ 20,463.41 ล้านบาท และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2559 – หนี้รัฐบาล จำนวน 4,491,860.05 ล้านบาท เพิ่มขึ้นสุทธิ 20,639.83 ล้านบาท โดยการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดจาก การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ จำนวน 52,714 ล้านบาท โดยการออกพันธบัตรรัฐบาลทั้งจำนวน การลดลงของตั๋วเงินคลัง จำนวน 30,000 ล้านบาท การกู้เงินเพื่อการลงทุนจากแหล่งเงินกู้ในประเทศ จำนวน 2,178.97 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น (1)
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 มีจำนวน 5,988,386.53 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 42.73 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล 4,471,220.22 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 994,794.29 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 500,054.33 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ 22,317.69 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หนี้รัฐบาล จำนวน
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 สิงหาคม 2559 มีจำนวน 5,949,330.64 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.64 ของGDP โดยแบ่งเป็น หนี้รัฐบาล จำนวน 4,422,488.53 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน จำนวน 995,932.29 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 507,633.62 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ จำนวน 23,276.20 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 30 มิถุนายน 2559 มีจำนวน 5,924,055.53 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.83 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,373,288.14 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็น สถาบันการเงิน จำนวน 1,021,940.40 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 517,517.92 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ จำนวน 11,309.07 ล้านบาท
รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ค. 2559 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดย สบน. ประจำเดือน พ.ค. 2559 – หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 พฤษภาคม 2559 มีจำนวน 5,977,353.33 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.35 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,415,020.02 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็น สถาบันการเงิน จำนวน 1,028,771.82 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 521,614.04