ออนโดเปิดตัว USD Yield (USDY) สำหรับนักลงทุนรายย่อยและนักลงทุนสถาบันทั่วโลก (นอกสหรัฐ) – การเปิดตัว USDY เกิดขึ้นหลังจากที่ออนโด ไฟแนนซ์ เข้าสู่วงการโทเคนเมื่อต้นปีนี้ด้วย OUSG (Ondo Short-Term US Government Bond Fund) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พันธบัตรสหรัฐแบบออนเชนตัวแรก OUSG ได้รับความสนใจอย่างมากจนมีสินทรัพย์ภายใต้การดูแลมากกว่า 160 ล้านดอลลาร์ อย่างไรก็ดี OUSG เปิดให้เฉพาะนักลงทุนสถาบันเท่านั้นคุณนาธาน ออลแมน (Nathan
ออนโด ไฟแนนซ์ เปิดตัวโทเคนโอเอ็มเอ็มเอฟ รองรับการลงทุนในกองทุนรวมตลาดเงินสหรัฐ เล็งตีตลาดสเตเบิลคอยน์มูลค่าหลักแสนล้านดอลลาร์ – "ในขณะที่โลกก้าวไปสู่อนาคตที่เป็นดิจิทัลและกระจายศูนย์มากขึ้น โอเอ็มเอ็มเอฟแสดงถึงโอกาสระยะยาวในการมอบวิธีการที่เหนือกว่าในการเก็บรักษาและถ่ายโอนความมั่งคั่ง" คุณนาธาน ออลแมน (Nathan Allman) ผู้ก่อตั้งและซีอีโอของออนโด ไฟแนนซ์ กล่าว
ออนโดเปิดตัวกองทุนโทเคนรองรับการลงทุนในหุ้นกู้และพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐ เล็งตีตลาดสเตเบิลคอยน์มูลค่าหลักแสนล้านดอลลาร์ – ปัจจุบัน นักลงทุนคริปโทฯ มีโอกาสได้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างไม่น่าดึงดูดใจ โดยโปรโตคอลที่ได้รับการพิสูจน์แล้วมากที่สุดอย่างคอมพาวด์ (Compound) และเอฟ (Aave) ให้ผลตอบแทนเพียงปีละประมาณ 1-2% และแม้โปรโตคอลกู้ยืมแบบไม่มีหลักประกันรูปแบบใหม่ ๆ ให้ผลตอบแทนรายปีในอัตราสูงถึง 7-10% แต่เงินกู้เหล่านี้ก็มีอัตราผิดนัดชำระหนี้ที่สูงกว่าคาด
ออนโด โปรโตคอล เตรียมเปิดขายโทเคนบนคอยน์ลิสต์ – โทเคน ONDO จะทำหน้าที่เป็นโทเคนประจำ (governance token) สำหรับองค์กรอัตโนมัติกระจายศูนย์ (DAO) ของออนโด ซึ่งจะให้อำนาจควบคุมแบบกระจายศูนย์และจัดตั้งระบบจูงใจต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ที่ทำประโยชน์ให้กับออนโด โปรโตคอล และผู้ใช้งาน ได้กลายเป็นผู้ดูแลโปรโตคอลนั้น โดยเบื้องต้นนั้น องค์กรอัตโนมัติกระจายศูนย์นี้จะเป็นผู้ให้บริการวาณิชธนกิจรายหลักของออนโด แต่เมื่อเวลาผ่านไปก็จะเปิดโอกาสให้รายอื่น ๆ
ฟาวน์เดอร์ส ฟันด์ จับมือ แพนเทอรา ร่วมลงทุน 20 ล้านดอลลาร์ในออนโด ไฟแนนซ์ มุ่งจัดตั้งวาณิชธนกิจแบบกระจายศูนย์ – ออนโด ไฟแนนซ์ กำลังจัดตั้งวาณิชธนกิจแบบกระจายศูนย์ที่มุ่งเน้นการสร้างสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบนิเวศ DeFi เกิดใหม่ ซึ่งรวมถึงองค์กรอัตโนมัติแบบกระจายศูนย์ (DAO) สถาบันต่าง ๆ และบรรดานักลงทุนรายย่อย สำหรับผลิตภัณฑ์ตัวแรกของบริษัทนั้น