CITES ประชุมหารือ เสริมกำลังต่อสู้อาชญากรรมสัตว์ป่า – "การประชุมคณะกรรมการบริหารอนุสัญญาไซเตสครั้งที่ผ่านมาถือเป็นการประชุมที่มีประสิทธิผลที่สุดครั้งหนึ่ง แต่การประชุมที่กำลังจะจัดขึ้นในสัปดาห์นี้จะต้องมีประสิทธิผลมากยิ่งกว่าครั้งไหน ๆ ตราบเท่าที่เหล่าคณะกรรมการยังคงแน่วแน่และจริงจังในการดำเนินการเช่นเดิม" นายคาร์ลอส ดรูวส์ ผู้อำนวยการด้านงานอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ของโลกแห่ง WWF กล่าว โดยการประชุมคณะกรรมการบริหารอนุสัญญาไซเตส ครั้งที่ 66
อาเซียนเว็นลีโอ ร่วมแก้ไขปัญหาอาชญากรรมสัตว์ป่าและพืชป่าที่ปลายน้ำ – ข้อสรุปสำคัญในการหารือ คือ กรมคุ้มครองพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าตามอนุสัญญาไซเตส สาธารณรัฐประชาชนจีน พร้อมร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการสืบสวนและขยายผลการจับกุมผู้บงการค้าสัตว์ป่าและพืชป่ารายใหญ่ โดยจะร่วมสนับสนุนปฏิบัติการคอบบร้า (Operation COBRA) ปฏิบัติการคอบบร้ามีเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายจาก 62 ประเทศในทวีปแอฟริกา, เอเชีย, อเมริกาและยุโรปร่วมปฏิบัติการความร่วมมือระยะยาว
อาเซียนเว็นลีโอ ร่วมผลักดันให้อาชญากรรมสัตว์ป่าเป็นฐานความผิดที่ 9 ของ อาชญากรรมข้ามชาติ – การประชุมระดับรัฐมนตรีด้านอาชญากรรมข้ามชาติ จัดขึ้นเป็นประจำทุก 2 ปี และจะมีรัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านความมั่นคงของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนเข้าร่วมประชุม ซึ่งปีนี้ ประเทศมาเลเซียเป็นเจ้าภาพ ภายในงาน แต่ละประเทศได้นำเสนอผลการดำเนินงานในการปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ
ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ไทยทำลายงาช้าง ส่งสัญญาณไม่อ่อนข้อให้อาชญากรสัตว์ป่าอีกต่อไป – เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้เป็นประธานในพิธีบดทำลายงาช้างของกลางที่คดีสิ้นสุดและตกเป็นของแผ่นดิน อันประกอบด้วยพิธีกรรมทางศาสนาพุทธและพิธีพราหมณ์ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ช้างแอฟริกาที่ถูกฆ่าเพื่อเอางาอย่างโหดร้าย โดยมีตัวแทนจากหน่วยงานภาครัฐ ผู้แทนทางการทูต
อาเซียนเว็นลีโอ จับมือไทย อินเดีย ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง หยุดการลักลอบค้าสัตว์ป่า – นอกจากนี้ ยังมีการลงนามบันทึกข้อตกลงระหว่างกรมควบคุมอาชญากรรมสัตว์ป่า สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และสำนักงานส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายสัตว์ป่าและพันธุ์พืชแห่งภูมิภาคอาเซียน ในการต่อต้านการค้าสัตว์ป่าและพืชป่าที่ผิดกฎหมายระหว่างประเทศอินเดีย
มติโลกเพื่อสัตว์ป่าครั้งประวัติศาสตร์ – มติของที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ เรื่อง การแก้ปัญหาการลักลอบค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมาย ริเริ่มโดยกาบองและเยอรมนีได้รับการสนับสนุนจากกว่า70ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย เป็นผลจากความพยายามทางการทูตตลอดระยะเวลาสามปีและยังเป็นครั้งแรกที่ทุกชาติสมาชิกรับรู้และตระหนักถึงความร้ายแรงของอาชญากรรมสัตว์ป่า และความจำเป็นเร่งด่วนในการรวบรวมสรรพกำลังเพื่อต่อสู้กับปัญหานี้ นายมาร์โค ลัมเบอร์ตินี
ภาพข่าว: ASEAN-WEN และมูลนิธิฟรีแลนด์ ร่วมถกปัญหาอาชญากรรมสัตว์ป่า – จากการสำรวจพบว่า มีสัตว์ป่าถึง 900 ชนิด ถูกส่งออกจากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ไปยังมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีตั้งแต่สัตว์ขนาดเล็ก เช่น งู เต่า และกิ้งก่า ไปจนถึงสัตว์ป่าขนาดใหญ่ เช่น เสือโคร่ง เสือดาว และหมี โดยการค้าสัตว์ป่าดังกล่าวมีมูลค่ากว่า10 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อนำไปประกอบอาหารและผลิตยาจีนแผนโบราณ