กระทรวงการคลังเดินหน้าสานต่อโครงการ “ก้าวต่อไปเราไม่ทิ้งกันสู้ภัยโควิด-19” – “กระทรวงการคลังมีข้อมูลผู้มีรายได้น้อย โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับการเยียวยา ทำให้สามารถนำข้อมูลมาประมวลผล เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยจะส่ง “ทีมเราไม่ทิ้งกัน” ลงพื้นที่เยี่ยมเยียน สำรวจ ประเมินสภาพความเป็นอยู่ เพื่อทราบความเดือดร้อนและความต้องการพื้นฐานของผู้ได้รับการเยียวยาทั่วประเทศอย่างทั่วถึง”
กระทรวงการคลังหารือความคืบหน้าการช่วยเหลือผู้ประกอบการธุรกิจสายการบิน เพื่อบรรเทาผลกระทบจาก Covid-19 โดยเน้นรักษาสภาพการจ้างงานกว่า 20,000 ตำแหน่ง – ที่ประชุมได้มีการหารือร่วมกันถึงแนวทางการให้ความช่วยเหลือโดยเห็นว่าควรเป็นรูปแบบของสินเชื่อพิเศษ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้เน้นย้ำว่าการช่วยเหลือด้วยสินเชื่อดังกล่าวต้อง 1.) มุ่งเน้นให้ผู้ประกอบการรักษาการจ้างงานไว้เป็นสำคัญ เนื่องจากธุรกิจสายการบินกลุ่มดังกล่าวมีงานจ้างงานประมาณ 20,000 ตำแหน่ง 2.)
กระทรวงการคลังหารือความคืบหน้าการช่วยเหลือผู้ประกอบการธุรกิจสายการบิน เพื่อบรรเทาผลกระทบจาก Covid-19 โดยเน้นรักษาสภาพการจ้างงานกว่า 20,000 ตำแหน่ง – ที่ประชุมได้มีการหารือร่วมกันถึงแนวทางการให้ความช่วยเหลือโดยเห็นว่าควรเป็นรูปแบบของสินเชื่อพิเศษ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้เน้นย้ำว่าการช่วยเหลือด้วยสินเชื่อดังกล่าวต้อง 1.) มุ่งเน้นให้ผู้ประกอบการรักษาการจ้างงานไว้เป็นสำคัญ เนื่องจากธุรกิจสายการบินกลุ่มดังกล่าวมีงานจ้างงานประมาณ 20,000 ตำแหน่ง 2.)
มาตรการดูแลและเยียวยาผลกระทบจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ต่อเศรษฐกิจไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม ระยะที่ 3 – กระทรวงการคลังรับผิดชอบการดูแลเศรษฐกิจไทยในภาพรวม เล็งเห็นว่ารัฐบาลจำเป็นต้องเร่งเข้าไปช่วยเหลือประชาชนและภาคธุรกิจที่ได้รับผลกระทบอย่างทันท่วงที กระทรวงการคลังจึงได้พิจารณาจัดหาแหล่งเงินที่จะนำมาใช้แก้ปัญหาวิกฤติของประเทศโดยอยู่ในระหว่างดำเนินการอย่างครบถ้วนแล้ว ซึ่งมีข้อจำกัดและเงื่อนเวลาของการงบประมาณ โดยงบกลางของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
มาตรการชดเชยรายได้แก่ลูกจ้างของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบ หรือผู้ได้รับผลกระทบอื่น ๆ ของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) – ทั้งนี้ ผู้ที่ลงทะเบียนและผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำหนดจะได้รับเงินช่วยเหลือรายละ 5,000 บาทต่อเดือน เป็นระยะเวลา 3 เดือน ระบบจะสามารถดำเนินการให้จ่ายเงินเยียวยาเข้าบัญชีของท่านได้เร็วสุดภายใน 7 วันทำการ อย่างไรก็ดี มาตรการเยียวยา 5,000 บาทนี้
ผลการประชุมคณะกรรมการพัฒนาตลาดทุนไทย ครั้งที่ 1/2563 – 1.มาตรการสร้างความเชื่อมั่นในตลาดทุนและลดผลกระทบจากไวรัสโคโรนา1.1 มาตรการสร้างความเชื่อมั่นและเพิ่มอุปสงค์ในตลาดทุน ซึ่งเป็นหนึ่งในมาตรการดูแลและเยียวยาผลกระทบจากไวรัสโคโรนาต่อเศรษฐกิจไทยทั้งทางตรงทางอ้อม ระยะที่ 1 ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2563 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในตลาดทุนและเพิ่มอุปสงค์
มาตรการดูแลและเยียวยาผลกระทบจากไวรัสโคโรนาต่อเศรษฐกิจไทยทั้งทางตรงทางอ้อม ระยะที่ 1 – กระทรวงการคลังรับผิดชอบการดูแลเศรษฐกิจไทยในภาพรวม เล็งเห็นถึงความเสี่ยง ต่อเศรษฐกิจไทย ซึ่งก่อนเหตุการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ก็อยู่ในภาวะที่ต้องเผชิญ ความท้าทายรอบด้าน เช่น ทั้งการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศและความไม่แน่นอนทางภูมิรัฐศาสตร์ จึงจำเป็นที่จะต้องออกมาตรการเพื่อพยุงและลดความเสี่ยงทางเศรษฐกิจอย่างทันท่วงที
คณะสภาธุรกิจอาเซียน-สหภาพยุโรป (EU-ASEAN Business Council: EU-ABC) เข้าเยี่ยมคารวะและหารือกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง – รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้แทนจากหน่วยงานกระทรวงการคลังได้ชี้แจง และตอบคำถามของคณะ EU-ABC ในส่วนของนโยบายต่าง ๆ ของกระทรวงการคลังที่ได้ร่วมมือกับกระทรวงที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจดิจิทัล ส่งเสริมอุตสาหกรรมในอนาคต เช่น ยานยนต์ไฟฟ้า เป็นต้น ทั้งนี้
ของขวัญปีใหม่ปี 2563 ของกระทรวงการคลัง – ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้เริ่มดำเนินการจ่ายเงินช่วยเหลือตามโครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว ปีการผลิต 2562/63 แก่เกษตรกรที่ลงทะเบียนผู้ปลูกข้าวนาปีกับกรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนและทำให้เกษตรกรมีเงินทุนหมุนเวียนเป็นค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวและรักษาคุณภาพข้าว ในอัตราไร่ละ 500 บาท ตามพื้นที่ที่ปลูกข้าวจริงแต่ไม่เกินครัวเรือนละ 20 ไร่
ธอส. พร้อมโอน!! ของขวัญปีใหม่
1,000 บาท ผ่าน Application GHB ALL สำหรับลูกค้าผ่อนดีมีวินัย และมีวงเงินกู้รวมไม่เกิน 1 ล้านบาท – นายฉัตรชัย
Dec 2019
สถาบันจัดอันดับ S&P ได้มีการปรับ Outlook ของไทยดีขึ้นจาก Stable เป็น Positive – ในช่วงที่ผ่านมา สถาบันจัดอันดับเครดิตชั้นนำต่าง ๆ ได้ปรับมุมมองความน่าเชื่อถือที่มีต่อเศรษฐกิจไทย โดยเมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 บริษัท Fitch Ratings (Fitch) และบริษัท Moody's Investors Service (Moody's) ได้ปรับมุมมองความน่าเชื่อถือของประเทศไทยจากระดับมีเสถียรภาพ (Stable) เป็นเชิงบวก (Positive) และยังคงอันดับความน่าเชื่อถือของไทยที่ระดับ BBB+ และ