รัฐมนตรีเกษตรฯ รุดลงพื้นที่โคราช หารือหน่วยเกี่ยวข้องเตรียมแผนแก้ไขปัญหาน้ำต้นทุนของเขื่อนลำตะคองก่อนเข้าแล้ง หลังพบปริมาณน้ำเก็บกักเฉลี่ยเพียง 35 % สั่งกรมชลฯ เตรียมศึกษาแผนทำอ่างพวงตามแนวทางศาสตร์พระราชาผันน้ำจากเขื่อนป่าสักฯ เข้าเขื่อนลำตะคอง – ดังนั้น จึงต้องวางแผนเตรียมการช่วยเหลือล่วงหน้า โดยได้สั่งการให้จัดทำแผนดำเนินการช่วยเหลือทั้งในระยะสั้น และ ระยะยาว โดยแผนระยะสั้นในช่วงที่ยังพอมีความชื้น
โครงการ 'บ่อจิ๋ว’ สุดเจ๋ง สศก. ชูผลสำเร็จ ช่วยเกษตรกรกักเก็บน้ำ เพิ่มผลผลิต เสริมรายได้ครัวเรือน – นางสาวจริยา สุทธิไชยา รองเลขาธิการและโฆษกสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงการติดตามโครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน "บ่อจิ๋ว" ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บน้ำไว้ใช้ในพื้นที่ทำการเกษตรนอกเขตชลประทาน และในพื้นที่ที่ระบบส่งน้ำไปไม่ถึง
ปภ. ประสานจังหวัดตรวจสอบปริมาณน้ำ – รณรงค์สร้างความเข้าใจ...ช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้งเต็มกำลัง – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดเผยว่า ปัจจุบันมีจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) จำนวน 15 จังหวัด 60 อำเภอ 278 ตำบล 2,369 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 3.16 ของจำนวนหมู่บ้านทั่วประเทศ แยกเป็น ภาคเหนือ 6 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ พะเยา สุโขทัย นครสวรรค์ และน่าน
กรมทรัพยากรน้ำบาดาลประกาศจ้างเหมาเอกชนเจาะบ่อน้ำบาดาลในเขตชลประทานพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา 12 จังหวัด รวม 735 แห่ง – กรมทรัพยากรน้ำบาดาลมีความประสงค์จะจ้างเหมาเอกชนเจาะบ่อน้ำบาดาล จำนวน 735 แห่ง ตามโครงการพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรในพื้นที่ประสบภัยแล้งในเขตชลประทานพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา 12 จังหวัด แบ่งเป็นกลุ่มพื้นที่ 52 กลุ่ม ประกอบด้วย จังหวัดกำแพงเพชร พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย นครสวรรค์ สุพรรณบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และจังหวัดนครปฐม
เกษตรกรพอใจประโยชน์ที่ใช้ได้จริง แหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน – นายสุรเดช เตียวตระกูล อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน เปิดเผยว่า โครงการแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทาน ขนาด ๑,๒๖๐ ลูกบาศก์เมตร ที่ดำเนินการขุดให้แก่เกษตรกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บกักน้ำไว้ใช้ในพื้นที่และเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร ซึ่งเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการร่วมสมทบเงิน ๒,๕๐๐ บาท/บ่อ และภาครัฐให้การสนับสนุนงบประมาณ ๑๗,๘๐๐ บาท/บ่อ รวมเป็นเงิน ๒๐,๓๐๐ บาท/บ่อ
ก.เกษตรฯ สั่งชป.กสส.จูนแผนเยียวยาลุ่มเจ้าพระยาชะลอนาปี – นายปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการประชุมชี้แจง ซักซ้อมทำความเข้าใจ แนวทางการจัดการน้ำ และการให้ความช่วยเหลือเกษตรกร ร่วมกับนายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ อธิบดีกรมชลประทาน นานไพรัช หวังดี รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร พร้อมด้วยสำนักชลประทานเขตลุ่มเจ้าพระยา และเกษตรจังหวัดลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง 15 จังหวัด อาทิ ชัยนาท อ่างทอง สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา
“น้ำบาดาล” ผนึกกำลัง กองทัพบก เร่งเจาะบ่อน้ำบาดาล 269 แห่ง ช่วยภัยแล้งภาคกลาง หาแหล่งน้ำเสริมช่วยเกษตรกรได้ 40,000 ไร่ – นายประเสริฐ บุญประเสริฐ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลหัวเขา อำเภอเดิมบางนางบวชจังหวัดสุพรรณบุรี เปิดเผยว่า องค์การบริหารส่วนตำบลหัวเขา มี 12 หมู่บ้าน เกษตรกรส่วนใหญ่จะปลูกข้าวเป็นหลัก และมีอ้อยเป็นบางส่วนประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ มันประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์
“น้ำบาดาล” ผนึกกำลัง กองทัพบก เร่งเจาะบ่อน้ำบาดาล 269 แห่ง ช่วยภัยแล้งภาคกลาง หาแหล่งน้ำเสริมช่วยเกษตรกรได้ 40,000 ไร่ – นายปราณีต ร้อยบาง อธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล กล่าวว่า สืบเนื่องจากปริมาณน้ำในเขื่อนต่างๆ ได้ลดน้อยลง ซึ่งคาดว่าจะมีน้ำใช้ได้อีกประมาณ 1,000 ล้านลูกบาศก์เมตร และในระยะต่อจากนี้ประมาณ 30 วัน ฝนจะทิ้งช่วง และเพื่อเป็นการป้องกันความเสียหายของพื้นที่การเกษตร พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และพลเอก
เลื่อนรอบทำนาเขตชลประทานยมน่านเร็วขึ้น 1 เดือน – นายปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มองเห็นความเดือดร้อนของเกษตรกรในพื้นที่ลุ่มน้ำยมและลุ่มน้ำน่านตอนกลาง ในเขตของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนนเรศวร และโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษายมน่าน ที่มักจะประสบกับปัญหาน้ำท่วมขัง ในช่วงปลายฤดูเก็บเกี่ยว เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ จะเริ่มทำการเพาะปลูกข้าวนาปีในช่วงเดือนพฤษภาคม
ปภ.บูรณาการจังหวัดเตรียมพร้อมรับมือภัยแล้ง เน้นบริหารจัดการและจัดสรรน้ำเป็นระบบเชื่อมโยงทุกพื้นที่ – ทั่วถึง – มีประสิทธิภาพ – นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า จากการคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ภัยแล้งปี 2558 ของประเทศไทย พบว่า ปีนี้อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่มีปริมาณน้ำน้อยกว่าเกณฑ์ค่าเฉลี่ยปกติ โดยเฉพาะอ่างเก็บน้ำที่สนับสนุนการใช้น้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ทำให้หลายพื้นที่เสี่ยงเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
กฟผ. เผยเขื่อนภูมิพล-เขื่อนสิริกิติ์ ระบายน้ำได้ตามแผนเตรียมพร้อมรับสถานการณ์น้ำช่วงฤดูฝน – กรุงเทพฯ--30 มี.ค.--กฟผ. กฟผ. ระบายน้ำเขื่อนภูมิพล-เขื่อนสิริกิติ์ได้ตามแผน ส่วนแผนระบายน้ำหลังสิ้นฤดูแล้งขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและปริมาณฝน รัฐกำชับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดูแลใกล้ชิด ห่วงพื้นที่นอกเขตชลประทานประสบภัยแล้ง นายกิตติ ตันเจริญ ผู้ช่วยผู้ว่าการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เปิดเผยว่า
ปภ.แนะเกษตรกรวางแผนเพาะปลูกพืชช่วงฤดูแล้ง – กรุงเทพฯ--24 ก.พ.--ปภ. กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนะเกษตรกร โดยเฉพาะพื้นที่นอกเขตชลประทานวางแผนเพาะปลูกพืชในช่วงฤดูแล้งให้สอดคล้องกับสถานการณ์น้ำในพื้นที่ และแผนการจัดสรรน้ำของกระทรวงเกษตรฯ โดยปฏิบัติตามมาตรการด้านการจัดสรรน้ำและมาตรการด้านการผลิตอย่างเคร่งครัด เพื่อลดผลกระทบจากการขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง นายวิบูลย์ สงวนพงศ์
ปภ.เตือนน้ำในเขื่อนเหลือน้อย ชาวนาลุ่มน้ำเจ้าพระยาชะลอการปลูกข้าวนาปี – กรุงเทพฯ--18 มิ.ย.--ปภ. กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เตือนเกษตรกรในจังหวัดภาคกลางบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาทั้งในเขตและนอกเขตชลประทานชะลอการปลูกข้าวนาปีออกไปก่อน เพื่อป้องกันผลผลิตได้รับความเสียหายจากการขาดแคลนน้ำ เนื่องจากเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์มีปริมาณน้ำเหลือน้อย ประกอบกับอาจเกิดภาวะฝนทิ้งช่วงในระยะนี้ นายอนุชา โมกขะเวส อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดเผยว่า
ปภ. คาดการณ์เอลนีโญส่งผลให้ภัยแล้งในประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น – กรุงเทพฯ--5 ม.ค.--ปภ. กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย คาดการณ์ปรากฏการณ์เอลนีโญส่งผลให้สถานการณ์ภัยแล้งในปี 2553 ของประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงกว่าปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะพื้นที่นอกเขตชลประทาน ซึ่งมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำไม่ดี อุณหภูมิเฉลี่ยมีแนวโน้มสูงกว่าปกติ ทำให้อากาศร้อนอบอ้าว และปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่ำกว่าปกติ
ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร มช. ขอเชิญผู้สนใจร่วมงาน มหกรรมเกษตร ปลอดพิษ ชีวิตปลอดภัย – กรุงเทพฯ--16 ม.ค.--มช. ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดงาน “มหกรรมเกษตร ปลอดพิษ ชีวิตปลอดภัย” ระหว่างวันที่ 30 ม.ค. – 1 ก.พ. 46 ณ สถานีวิจัยเกษตรเขตชลประทาน ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้สนใจร่วมงานได้ตามวันเวลาดังกล่าว--จบ-- -ตม-
เขตบางขุนเทียนเตือนประชาชนเตรียมรับสถานการณ์น้ำแล้ง – กรุงเทพ--18 ก.พ.--เขตบางขุนเทียน นายยุทธนา ริ้วเหลือง ผู้อำนวยการเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร เปิดเผยว่า สืบเนื่องจากทางกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แจ้งเตือนเกษตรกรว่าในปีนี้น้ำในเขตชลประทานของลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา และลุ่มแม่น้ำท่าจีน มีค่อนข้างน้อย ซึ่งจะเกิดภาวะขาดแคลนน้ำอย่างรุนแรงในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่เขตบางขุนเทียน จะเกิดภาวะน้ำเน่าเสียในแขวงบางบอน,
รัฐเร่งช่วยเหลือปัญหาขาดแคลนน้ำ – กรุงเทพ--2 ก.ค.--ทำเนียบรัฐบาล นายปราโมทย์ ไม้กลัด ผู้อำนวยการศูนย์เฉพาะกิจเพื่อแก้ปัญหาเรื่องน้ำ (ศกน.) เปิดเผยว่า จากการที่ฝนทิ้งช่วงในสองเดือนที่ผ่านมา ทำให้น้ำในคลองเขตชลประทานเจ้าพระยาตอนล่างทั้งสองฝั่งตั้งแต่ชัยนาทลงมา โดยเฉพาะในเขตจังหวัดชัยนาท พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทราสมุทรปราการ เกิดขาดแคลนน้ำในการทำนาปรัง และอุปโภคบริโภคในขณะนี้