เรชามานดีขอเสนอ ผ้าธรรมชาติอันเป็นเอกลักษณ์ของอินเดียสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ – เรชามานดีได้จัดหาผ้าใยธรรมชาติกว่า 10 ล้านเมตรให้กับผู้ผลิตผ้า เครื่องแต่งกาย และของตกแต่งบ้านในอินเดียกว่า 500 ราย ซึ่งในบรรดา 500 รายนี้เป็นผู้ส่งออกมากกว่า 200 รายที่จัดหาผลิตภัณฑ์ให้กับแบรนด์ที่มีชื่อเสียงทั่วทั้งภูมิภาค บริษัทยังมีผ้าธรรมชาติหลากหลายประเภท โดยยึดมั่นในความยั่งยืน การค้าที่เป็นธรรม และการจัดหาอย่างมีจริยธรรม ผ้าดังกล่าว ได้แก่
“วิกผมเทียมจากเส้นใยธรรมชาติ”
วิกผมคุณภาพสูงแต่ต้นทุนต่ำถึง 10 เท่า – คณะผู้จัดทำ โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์ จังหวัดเชียงราย แนวคิดที่มา
Aug 2019
งานสัมมนา “ทิศทางเส้นใยธรรมชาติ
... สู่อุตสาหกรรม 4.0” – นายประสงค์ นิลบรรจง รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมและรักษาการผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอุตสาห
Oct 2016
ไอเดีย 10 ฟังก์ชั่น เก้าอี้พักผ่อน จากเศษผ้าใยธรรมชาติ นศ.มทร.ธัญบุรี – โดยตัวผลิตภัณฑ์บรรจุด้วยโฟมโพลีสไตรีนที่อยู่ภายในกลีบแต่ละกลีบ ทำหน้าที่ในการรองรับน้ำหนักที่กดทับ สามารถเคลื่อนรูปทรงได้ตามลักษณะท่านั่ง และท่านอน ในส่วนของลวดลายเศษผ้าที่นำมาเย็บ และขดตามที่วาดลวดลายไว้โดยใช้จักรเย็บผ้าเย็บตามต้องการ ขั้นตอนในการทำงานเริ่มจาก 1. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล การผลิตผลิตภัณฑ์ต้นแบบ 2. ตัดแพทเทิร์นเพื่อผลิต 3.
CSR Project : Fashion for Society by AMATA Philosophy , Natural Niche, YAKYIM , และ Munsa – กิจกรรมนี้เกิดขึ้นโดยสืบเนื่องจากการที่กลุ่มแบรนด์เสื้อผ้าดังกล่าวได้มาร่วมบริจาคเงินและสิ่งของให้บ้านอุ่นรัก เมื่อ เดือน พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมาในนามเครือข่าย Terminal 21 , JJ และ SFN หลังจากทราบว่า บ้านอุ่นรักมีรายได้หลักจากการทอผ้าพื้นเมืองและตัดเย็บเสื้อผ้าอย่างง่าย บริษัท AMATA Philosophy ได้ขอความร่วมมือไปที่ iTAP
สถาบันฯ สิ่งทอ รุกต่อเนื่อง Eco Fiber เฟส 2 ต่อยอดพัฒนาเส้นใยธรรมชาติสู่ผู้นำสิ่งทออาเซียน – สำหรับ ผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไปสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4 กรุงเทพฯโทรศัพท์ 0 2713 5492 – 9 ต่อ 406, 400 หรือดูรายละเอียดได้ที่ www.thaitextile.org นางสุทธินีย์ พู่ผกา ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ เปิดเผยว่า สถาบันฯ สิ่งทอ
สถาบันฯ สิ่งทอ จัดนิทรรศการ พร้อมสัมมนาเพื่อพัฒนาสิ่งทอไทย สู่ผู้นำ “อีโค ไฟเบอร์” ของอาเซียน – · นิทรรศการเส้นใยธรรมชาติ ตั้งแต่การแปรรูป กระบวนการผลิต ไปจนถึงการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ อาทิ กระเป๋ากักเก็บอุณหภูมิร้อน-เย็นจากเส้นใยตาล ถาดหุ้มล้อด้านในรถยนต์ จากเส้นใยหมาก ชุดจากเส้นใยกัญชง เป็นต้น · การเสวนาหัวข้อ “ทำอย่างไร...ให้ไทยเป็นผู้นำอุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยธรรมชาติในอาเซียน” โดยผู้ทรงคุณวุฒิจากภาครัฐและเอกชน ·
สถาบันสิ่งทอฯเปิดโอกาสนักออกแบบไทย ร่วมสร้างสรรค์สุดยอดนวัตกรรมเส้นใยธรรมชาติสู่เวทีโลก ขยายเวลา Creative Textiles Award ถึง 30 เม.ย.57 – นางสุทธินีย์ พู่ผกา ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอกล่าวว่า “Creative Textiles Award” เป็นเวทีสำคัญที่เปิดกว้างและสร้างโอกาสให้กับนักออกแบบ นิสิต นักศึกษา และผู้ประกอบการได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
สถาบันสิ่งทอฯจับมือภาครัฐและเอกชน รุกดัน “สิ่งทอเทคนิค”จากเส้นใยธรรมชาติสู่ภาคอุตสาหกรรม หวัง “สร้างมูลค่าเพิ่มภาคการผลิต”“สร้างรายได้ให้เกษตรกร” – สำหรับผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไปสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4 กรุงเทพฯโทรศัพท์ 0 2713 5492 – 9 ต่อ 406, 400 หรือดูรายละเอียดได้ที่www.thaitextile.org นางสุทธินีย์ พู่ผกา ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
สถาบันฯ สิ่งทอ ชวนร่วมงาน “Thai Eco Fibers” มิติใหม่อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย – การจัดแสดงนิทรรศการนำเสนอกระบวนการสิ่งทอเทคนิคจากอุตสาหกรรมต้นน้ำพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรม ตลอดจนฐานข้อมูลงานวิจัยเทคโนโลยีในการพัฒนาเส้นใยใหม่ การสัมมนาเส้นใยธรรมชาติพัฒนาอย่างไรเพื่อไปตลาดสากล โดย ดร.ชาญชัย สิริเกษมเลิศ ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมเทคโนโลยี สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ การบรรยายพิเศษ เรื่อง “เส้นใยธรรมชาติในกระแสโลก” โดย