ครูกัลยา ปลื้ม หลังแกนนำชุมชน
5 จังหวัดภาคอีสาน สนใจร่วมเวิร์กชอป ชลกรชุมชน ตอบรับล้น เตรียมจัดอบรมเข้ม พร้อมประกาศเจตนารมณ์ขยายผลสู่ชุมชน –
Dec 2020
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง มาตรา 44 กับกระบวนการทำอาร์ไอเอ (RIA) – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) ผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง มาตรา 44 กับกระบวนการทำอาร์ไอเอ (RIA) จำนวนทั้งสิ้น 1,107 ชุมชน จาก 27 จังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นครปฐม ชลบุรี เพชรบุรี ชัยนาท
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 1,104 ชุมชน จาก 26 จังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 1,104 ชุมชน จาก 26 จังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร
แกนนำ รสทป. ทั่วประเทศสร้างประวัติศาสตร์ รวมตัวถวายสัตย์ฯเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ “สมเด็จพระบรมราชินีนาถ” – นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า เพื่อให้การดูแลรักษาป่าในพื้นที่รอบแปลงปลูกป่า ปตท. ในแต่ละภาค ปตท. โดยความร่วมมือและความอนุเคราะห์จากพี่น้องประชาชนรอบผืนป่า พร้อมหน่วยงานและวิทยากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย กองทัพภาค กรมป่าไม้
มาสเตอร์โพลล์(Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง แกนนำชุมชนมองอย่างไร ถึงอนาคตประเทศไทยหลังการเลือกตั้ง :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – เมื่อสอบถามความคิดเห็นของตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการติดตามข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาพบว่าตัวอย่างร้อยละ 61.0 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 26.0 ระบุติดตาม 3-4 วัน ร้อยละ 6.0 ระบุติดตาม 1-2 วัน ร้อยละ 6.5 ติดตามเป็นบางวัน และร้อยละ 0.5
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง สงกรานต์ไทย(ปีนี้) เปลี่ยนไปหรือเหมือนเดิม? :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – เมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงความตั้งใจในการเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิมในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่จะมาถึงนี้ ผลการสำรวจพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 87.8 ระบุตั้งใจจะเดินทาง ในขณะที่มีเพียงร้อยละ 12.2เท่านั้นที่จะไม่ไปไหน
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง 1 ปี มาตรา 44 กับความมั่นใจของประชาชน :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – เมื่อสอบถามความคิดเห็นของตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการติดตามข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา พบว่าตัวอย่างร้อยละ 59.7 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 22.9 ระบุติดตาม 3-4 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 8.1 ระบุติดตาม 1-2 วันต่อสัปดาห์ ร้อยละ 8.5 ติดตามเป็นบางวัน และร้อยละ 0.8
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง 2 ปี คสช. เปลี่ยนประเทศไทยอย่างไร? :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – เมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 35.5 ระบุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ร้อยละ 45.8 ระบุดีเหมือนเดิม ในขณะที่ร้อยละ 7.9 ระบุแย่เหมือนเดิม และร้อยละ 10.8 ระบุแย่ลง
แกนนำชุมชนดินแดง เข้าพบ รมว.พม. เพื่อขอยุติการเคลื่อนไหวคัดค้านโครงการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง – พลตำรวจเอก อดุลย์ กล่าวต่อไปว่า ทั้งนี้ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ได้ให้วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ลงพื้นที่สำรวจสภาพอาคารแฟลตดินแดงตามข้อเรียกร้องกลุ่มแกนนำฯ โดยคาดว่าจะใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานไม่เกิน ๒ เดือน ขณะเดียวกัน ได้จัดชุดปฏิบัติการลงพื้นที่แฟลตดินแดง จำนวน ๖ ชุดๆละ ๑๐ คน ประกอบด้วย
มาสเตอร์โพล (Master Poll)เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง – ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพล(Master Poll) เรื่อง ข่าวอะไรสร้างสุข ข่าวอะไรสร้างความกังวลในใจแกนนำชุมชนกรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ
ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน มาสเตอร์โพล (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่องนักการเมืองกับซิงเกิลเกตเวย์ในสายตาแกนนำชุมชน – แกนนำชุมชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 84.3 ระบุตั้งแต่ หลัง คสช. และ รัฐบาลเข้ามาแก้ปัญหาประเทศ ยังไม่เคยเห็นนักการเมืองเสนอนโยบายช่วยประชาชน ในขณะที่ร้อยละ 15.7 ระบุเคยเห็น แต่ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 85.6 พบเห็นนักการเมืองเคลื่อนไหวเพื่อความอยู่รอดของตัวเองมากกว่า มีเพียงร้อยละ 14.4
มาสเตอร์โพล (Master Poll) ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง แกนนำชุมชนคิดอย่างไรต่อ ข่าวสาร ยุทธศาสตร์ และ ความเหลื่อมล้ำ – ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 96.7 ติดตามข่าวสารเป็นประจำทุกวัน โดยส่วนใหญ่หรือร้อยละ 73.5 ระบุข่าวที่ติดตามแล้วเกิดประโยชน์ต่อประชาชนมากที่สุดคือ ข่าวเศรษฐกิจ ช่วยชี้ช่องทางทำมาหากิน แก้ปัญหาปากท้องได้ ในขณะที่ข่าวปฏิรูปการเมือง การเคลื่อนไหวทางการเมือง
มาสเตอร์โพล (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง แกนนำชุมชนคิดอย่างไรต่อ ภาพลักษณ์ของประเทศไทยในสายตาชาวต่างชาติ – ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 97.2 ติดตามข่าวสารการเมืองปัจจุบัน ในขณะที่ร้อยละ 2.8 ไม่ได้ติดตาม และเมื่อถามถึง ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้นของประเทศไทยในสายตาของต่างชาติ ภายหลัง คสช. และรัฐบาลเข้ามาแก้ปัญหา พบว่า อันดับแรกหรือร้อยละ 71.9 ระบุ การแก้ปัญหาคนไทย ตีกัน การรักษาความมั่นคงของประเทศ เป็นภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll): ความสุขของแกนนำชุมชนต่อ 3 รัฐบาล 3 นายกรัฐมนตรี: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 97.4 ติดตามข่าวสารของบ้านเมืองผ่านสื่อต่างๆ มีเพียงร้อยละ 2.6 เท่านั้นที่ไม่ได้ติดตาม และเมื่อสอบถามถึงความสุขต่อการแก้ปัญหาบ้านเมืองด้านต่างๆ โดยรัฐบาล 3 รัฐบาล พบว่า ความสุขต่อการแก้ปัญหาบ้านเมืองโดยรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้คะแนนสูงสุดในทุกด้านมากกว่ารัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) พลังความไว้วางใจจากประชาชนไทยถึงรัฐบาลประยุทธ์ 3 – เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง พลังความไว้วางใจจากประชาชนไทยถึงรัฐบาลประยุทธ์ 3 (The Power of Trust in Government): กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง พลังความไว้วางใจจากประชาชนไทยถึงรัฐบาลประยุทธ์ 3 (The
มาสเตอร์โพลล์ เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง คำตอบจากแกนนำชุมชน ถึงเวลาแล้วหรือยังที่คนไทยต้องรักสามัคคี? – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง คำตอบจากแกนนำชุมชนถึงเวลาแล้วหรือยังที่คนไทยต้องรักสามัคคี OUR HOME OUR COUNTRY STRONGER TOGETHER : กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่องแกนนำชุมชนคิดอย่างไรต่อ รัฐบาล และ คสช. หลังเกิดเหตุร้ายที่แยกราชประสงค์:กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – แกนนำชุมชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 98.3 ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับเหตุระเบิดที่สี่แยกราชประสงค์ ในขณะที่เพียงร้อยละ 1.7 ไม่ได้ติดตาม และเมื่อสอบถามถึงความพอใจต่อการปฏิบัติการของทุกภาคส่วน ภายหลังเหตุระเบิดที่สี่แยกราชประสงค์ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 74.5
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่องความสุขมวลรวม (GDH) ของประชาชน เดือนสิงหาคม 2558: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – ความสุขมวลรวมของประชาชนที่ระบุสุขมาก ถึง มากที่สุดมีอยู่ร้อยละ 18.5 ระดับค่อนข้างมากมีอยู่ร้อยละ 42.2 ระดับปานกลางมีอยู่ร้อยละ 20.1 ค่อนข้างน้อยมีอยู่ร้อยละ 13.4 ในขณะที่ สุขน้อยถึงไม่มีความสุขเลย มีอยู่ร้อยละ 5.8 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ค่าความสุขมวลรวมของประชาชนเฉลี่ยอยู่ที่
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ความสำเร็จของการปฏิรูปประเทศในสายตาของแกนนำชุมชน: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – ผลสำรวจการติดตามข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา พบว่า แกนนำชุมชน ร้อยละ 54.3 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 35.0 ระบุติดตาม 3-4 วัน ร้อยละ 8.9 ระบุติดตาม 1 – 2 วัน และ ร้อยละ 1.8 ระบุไม่ได้ติดตามเลยเมื่อสอบถามแกนนำชุมชนเกี่ยวกับการรับทราบข่าวกรณีสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือ สปช. ได้ส่งมอบแผนการปฏิรูปประเทศต่อ พล.อ.ประยุทธ์
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง วิกฤตเกษตรกรไทยจากภัยแล้ง – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง วิกฤตเกษตรกรไทยจากภัยแล้ง : กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 1,075 ตัวอย่าง
มาสเตอร์โพลล์ เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ ผลประเมินเทียร์ 3 กับความพยายามของรัฐบาลในการเดินหน้าแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง ผลประเมินเทียร์ 3 กับความพยายามของรัฐบาลในการเดินหน้าแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ :
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง แกนนำชุมชน คิดอะไร? เห็นอย่างไร? กับการปรับคณะรัฐมนตรี: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – ผลสำรวจการติดตามข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในช่วง 30 วันที่ผ่านมา พบว่า แกนนำชุมชน ร้อยละ 55.4 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 30.5 ระบุติดตาม 3-4 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 9.6 ระบุติดตาม 1-2 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 3.9 ระบุน้อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง และร้อยละ 0.6
มาสเตอร์โพลล์ เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง เมื่อกลุ่มนักศึกษาประกาศไม่หยุดเคลื่อนไหว แกนนำชุมชนคิดอย่างไร – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง เมื่อกลุ่มนักศึกษาประกาศไม่หยุดเคลื่อนไหว แกนนำชุมชนคิดอย่างไร: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 1,062 ตัวอย่าง
มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง แกนนำชุมชนคิดอย่างไรต่อการปลดใบเหลืองอียู กับ ความวิตกกังวลในการขาดแคลนอาหารทะเล: กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ – ผลสำรวจการติดตามข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในช่วง 30 วันที่ผ่านมา พบว่า แกนนำชุมชน ร้อยละ 57.7 ระบุติดตามทุกวัน/เกือบทุกวัน ในขณะที่ร้อยละ 26.5 ระบุติดตาม 3-4 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 9.7 ระบุติดตาม 1-2 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 4.3