ซีพีเอฟผนึกพลังองค์กรเครือข่าย
นำศูนย์สวัสดิภาพและธรรมาภิบาลแรงงานประมงสงขลา ยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงานต่างชาติบนเรือประมงต่อเนื่อง – นางสาวนาตยา
Sep 2018
กรมประมงแจงภาครัฐดำเนินมาตรการสกัดกั้น ทุกกระบวนการทำประมงผิดกฎหมายอย่างเป็นระบบและเข้มงวด – นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่าคงต้องขอขอบคุณ ภาคประชาสังคมต่างๆ ที่มีความห่วงใย และตระหนักในความรับผิดชอบร่วมกันในการที่จะให้ "การประมงของไทยมีความยั่งยืน" โดยเฉพาะการทำศึกษาวิจัยที่ต้องใช้ความมุ่งมั่น ตั้งใจของนักวิจัยที่จะต้องดำเนินการศึกษาวิจัย อย่างครบถ้วน ครอบคลุม และถูกต้อง ตามหลักวิชาการ
กสร. รับ ๓ ลูกเรือไทยจากอินโดนิเซีย ทวงค่าจ้างกว่า ๖ แสน – นายสุเมธ มโหสถ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.) เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๙ ที่ผ่านมา กสร. ได้จัดส่งเจ้าหน้าที่เดินทางไปรับคำร้องของแรงงานประมงที่เดินทางกลับจากเกาะตวน สาธารณรัฐอินโดนีเซีย จำนวน ๓ คน ณ สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ (ชาย) จ.ปทุมธานี พร้อมชี้แจงสิทธิและขั้นตอน การเรียกร้องสิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
ซีพีเอฟ จับมือเครือข่ายตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มแรงงานประมงภาคใต้ – นายวุฒิชัย สิทธิปรีดานันท์ รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ กล่าวว่า ซีพีเอฟตระหนักดีว่า การดำเนินงานเพื่อขจัดปัญหาแรงงานผิดกฎหมาย และการค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมประมง ต้องอาศัยการทำงานอย่างบูรณาการของทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน NGO และผู้มีส่วนได้เสียในภาคการประมงทั้งระบบ ซึ่งจังหวัดสงขลา
7 หน่วยงาน ลงนาม MOU ใช้ระบบ Fishing Info เชื่อมข้อมูลเรือประมงและแรงงานประมง เพื่อแก้ปัญหา IUU Fishing “ปีติพงศ์” แจงแก้ไอยูยูคืบ – ดังนั้น การที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมประมง ได้พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง Fishing Info เพื่อเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการดำเนินการตรวจสอบ ควบคุม กำกับดูแลการทำประมง IUU เป็นจุดเริ่มต้นที่จะช่วยให้ทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้องสามารถเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันได้ด้วยการทำงานในระบบเดียว
พม. จับมือ ก.การต่างประเทศ ก.แรงงาน และสตช. ให้การดูแลและเยียวยาแรงงานประมงไทย ที่ไปทำงานที่สาธารณรัฐอินโดนีเซียหลังเดินทางกลับถึงไทยตามมาตรฐานสากลทุกรายอย่างต่อเนื่อง – พลตำรวจเอก อดุลย์ กล่าวต่อไปว่า สำหรับกรณีการรับลูกเรือประมงฯ สองครั้งหลังคือเมื่อวันที่ ๒๙ ก.ค. ๒๕๕๘ เป็นครั้งที่ ๔๔ ของการรับลูกเรือฯ โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ได้รับแจ้งจากกระทรวงการต่างประเทศ ว่าในวันดังกล่าวมีลูกเรือประมงจากเกาะเบนจิน่า และเมืองปอนเดียนัก
พม. ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ช่วยเหลือแรงงานประมงที่เดินทางกลับจากอินโดนีเซีย เพิ่มอีก ๖๓ ราย – “ทั้งนี้ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ได้รับประสานจากกระทรวงการต่างประเทศ แจ้งกำหนดการส่งตัวลูกเรือประมงไทยจากสาธารณรัฐอินโดนีเซีย กลับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ จนถึงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ รวมจำนวนทั้งสิ้น ๕๒๖ ราย และพบว่าเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จำนวน ๓๒ ราย ซึ่งกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ
พม. เริ่มการคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์กรณีแรงงานประมงไทย จากเกาะอัมบน สาธารณรัฐอินโดนีเซีย วันแรกที่สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ(ชาย) จ.ปทุมธานี – พลตำรวจเอก อดุลย์ กล่าวว่า กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ได้จัดทีมสหวิชาชีพ ประกอบด้วยพนักงานสอบสวนจากกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ นักสังคมสงเคราะห์จากกองต่อต้านการค้ามนุษย์ และสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ (ชาย) จังหวัดปทุมธานี