กระทรวงเกษตรฯ เผยความก้าวหน้าโครงการ “โคบาลบูรพา” เกษตรกร 618 ราย ได้รับแม่โคแล้ว 3,090 ตัว พร้อมส่งมอบ 100% สิ้นต.ค. นี้ คุมเข้มคุณภาพแม่โคพันธุ์ดี พร้อมเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ – ด้าน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ โฆษกกรมปศุสัตว์ กล่าวเพิ่มเติมว่า โครงการ "โคบาลบูรพา" มีการดำเนินการใน 2 กิจกรรมหลัก คือ 1) ส่งเสริมการเลี้ยงแม่โคเนื้อผลิตลูก เป้าหมายระยะแรกเกษตรกร 6,000 ราย สนับสนุนแม่โคเนื้อ รายละ 5 ตัว เป้าหมายโคเนื้อ รวม
กระทรวงเกษตรฯ เผยความก้าวหน้าโครงการโคบาลบูรพา ย้ำดูแลสัตว์เคลื่อนย้ายไม่ให้มีปัญหา ยืนยันไม่มีโรค เตรียมทีมสัตวแพทย์เฝ้าดูอาการในพื้นที่ – "สำหรับกระแสข่าวที่ระบุว่า มีโค-กระบือ ปากเท้าเปื่อยนั้น ยืนยันว่าไม่ใช่ข้อเท็จจริง โดยสั่งการให้กรมปศุสัตว์ตรวจสอบในพื้นแล้ว พบว่า เป็นแผลที่เกิดจากการเคลื่อนย้าย ซึ่งจะดำเนินการรักษาโดยทีมสัตวแพทย์ที่คอยดูแล ไม่มีการปล่อยให้โค-กระบือที่มีปัญหาลงในพื้นที่ ขอให้ประชาชนสบายใจได้" พลเอกฉัตรชัย กล่าว
กระทรวงเกษตรฯ ชี้โครงการ “โคบาลบูรพา” มีความก้าวหน้าตามลำดับ ทุกขั้นตอนดำเนินการอย่างรัดกุมจะช่วยสร้างอาชีพที่มั่นคงและยั่งยืนแก่เกษตรกรได้จริง – ด้านนายสัตวแพทย์อภัย สุทธิสังข์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ เผยถึงความคืบหน้าของโครงการโคบาลบูรพา ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีโครงการส่งเสริมให้ชาวบ้านเลี้ยงโค-แพะ ในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว นั้น ขณะนี้คณะกรรมการได้คัดกรองเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ 6,100 คน ตามเป้าหมายแล้ว และมีการอบรมให้ความรู้
กระทรวงเกษตรฯ ชี้โครงการ “โคบาลบูรพา” จังหวัดสระแก้ว เพิ่มปริมาณโคเนื้อและแพะ สร้างอาชีพใหม่ที่มั่นคงและยั่งยืน – นายสัตวแพทย์อภัย สุทธิสังข์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ เผยถึงความคืบหน้าของ "โครงการโคบาลบูรพา" ว่า ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนของคณะกรรมการระดับพื้นที่คัดกรองเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯตามเป้าหมายที่วางไว้จำนวน 6,100 ราย ซึ่งขณะนี้ได้ผ่านการคัดเลือกและผ่านประชาคมหมู่บ้านแล้ว จำนวน 3,123 ราย ส่วนที่เหลืออีก 2,977 ราย
“พลเอกฉัตรชัย” สั่งลุย “โคบาลบูรพา” หลังครม.ไฟเขียวงบกว่า 1,000 ล้าน หวังเร่งปรับเปลี่ยนปลูกข้าวในพื้นที่แห้งแล้ง จ.สระแก้ว สู่แหล่งอุตสาหกรรมโคเนื้อครบวงจรดันส่งออกกัมพูชา เวียดนาม – สำหรับการดำเนินงานโครงการดังกล่าว มีระยะเวลา 6 ปี (2560 - 2565) แบ่งเป็น 3 ระยะ โดยแต่ละระยะเป็นการปรับเปลี่ยนพื้นที่ของเกษตรกรแต่ละราย ประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นที่ ในช่วงการปรับเปลี่ยนระยะแรก เกษตรกรจะมีรายได้จากการปลูกข้าวในพื้นที่เดิม