ข่าวประชาสัมพันธ์โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส | newswit

วัคซีนป้องกันโรค IPD ชนิด 15 สายพันธุ์
วัคซีนป้องกันโรค IPD ชนิด 15 สายพันธุ์
ที่ โรงพยาบาล บี.แคร์ เมดิคอลเซ็นเตอร์ – หมดเขต  31 ธันวาคม 2566 Dec 2023
มูลนิธิวัคซีนเพื่อประชาชน ร่วมกับ
มูลนิธิวัคซีนเพื่อประชาชน ร่วมกับ
สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย เดินหน้าส่งเสริมคุณภาพชีวิตเด็กไทยต่อเนื่อง ส่งมอบวัคซีน IPD 3,000 โด๊ส – Nov 2022
มูลนิธิวัคซีนเพื่อประชาชน ร่วมกับ
มูลนิธิวัคซีนเพื่อประชาชน ร่วมกับ
สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย สานต่อโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส Nov 2021
สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย
สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย
ผนึก มูลนิธิวัคซีนเพื่อประชาชน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันเด็กไทยห่างไกลโรคไอพีดี (IPD) หรือโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส Aug 2019
มูลนิธิวัคซีนเพื่อประชาชน ร่วมกับ
มูลนิธิวัคซีนเพื่อประชาชน ร่วมกับ
สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย เดินหน้าสานต่อโครงการจัดหาวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส เพื่อเด็กกลุ่มเสี่ยง Nov 2018
ภาพข่าว: สุขภาพดี Well-Being Program
ภาพข่าว: สุขภาพดี Well-Being Program
– (จากภาพ) คุณปิติภัทร สิหนาทกถากุล (ที่ 3 จากขวา) ผู้ช่วยผู้อำนวยการบริหาร รพ.ไทยนครินทร์ Aug 2014
ผลวิจัยแพทย์สหรัฐฯ ชี้ วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส (วัคซีนไอพีดี) ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่และมีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจสูง – กรุงเทพฯ--17 มี.ค.--คอมมูนิเคชั่น แอนด์ มอร์ ระวังไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ และกลุ่มคนทำงาน เป้าหมายหลัก ต้องระวังเป็นพิเศษ เตือนระวังเสี่ยงติดเชื้อนิวโมคอคคัสซ้ำซ้อนสูง พบกว่าร้อยละ 30 ของผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ติดเชื้อนิวโมคอคคัสซ้ำซ้อนในช่วงที่มีการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่
กุมารแพทย์เตือน ระวังติดเชื้อนิวโมคอคคัสซ้ำซ้อนโรคระบบทางเดินหายใจในเด็กเล็ก ปัจจัยสำคัญเพิ่มอัตราการตายเด็กเอเชีย – กรุงเทพฯ--21 ธ.ค.--คอมมูนิเคชั่น แอนด์ มอร์ 6-8 พฤศจิกายน 2552: กุมารแพทย์ชั้นนำแห่งเอเชีย และผู้เชี่ยวชาญโรคติดเชื้อนานาชาติ ร่วมประชุมโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส ครั้งที่ 5 มุ่งเน้นอุบัติการณ์โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในเอเชีย และความสำคัญของวัคซีนไอพีดีในการป้องกันการติดเชื้อนืวโมคอคคัสแทรกซ้อนโรคระบบทางเดินหายใจในเด็กเล็ก
ภาพข่าว: รพ.กรุงเทพ จัดกิจกรรมรณรงค์ “หนูน้อยปลอดโรคไอพีดี” – กรุงเทพฯ--9 ต.ค.--โรงพยาบาลกรุงเทพ พญ.มธุรส ดีสวัสดิ์มงคล หัวหน้าศูนย์กุมารเวช โรงพยาบาลกรุงเทพ มอบรางวัล “หนูน้อยปลอดโรคไอพีดี” แก่ครอบครัวผู้ชนะเลิศการประกวด พร้อมรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส ต้นเหตุสำคัญของโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคติดเชื้อในกระแสเลือด และโรคปอดบวม ที่คร่าชีวิตเด็กเล็กทั่วโลกกว่าปีละ 2 ล้านคน
กทม. จัดประชุมวิชาการวัคซีนไอพีดีแก่แพทย์ พยาบาลในสังกัด กว่า 400 คน เตรียมรับมือโรคปอดบวม-โรคไอพีดีในเด็ก ยกระดับสุขภาพชาวกทม. – กรุงเทพฯ--22 ก.ย.--กทม. กทม. จัดประชุมวิชาการแพทย์ และพยาบาลกว่า 400 คน จาก 10 โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร สร้างความรู้เรื่องปอดบวม และโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส รวมทั้งวัคซีนไอพีดี ที่สามารถช่วยป้องกันปอดบวมที่เกิดจากเชื้อนิวโมคอคคัสได้ ซึ่งเป็นหนึ่งในแผนการเตรียมความพร้อมแพทย์
วัคซีน Prevenar 13* ของไวเอทได้รับการอนุมัติให้ใช้สำหรับป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในทารกและเด็กเล็กเป็นครั้งแรก – ชิลีให้การอนุมัติวัคซีน Prevenar 13 เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในทารกและเด็กเล็กเป็นครั้งแรกไวเอท ฟาร์มาซูติคอลส์ (Wyeth Pharmaceuticals) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือไวเอท (NYSE: WYE) ประกาศว่า กระทรวงสาธารณสุขของชิลีเป็นหน่วยงานภาครัฐแห่งแรกที่ให้การอนุมัติวัคซีน Prevenar 13* (ประกอบด้วยซีโรไทป์ของเชื้อนิวโมคอคคัส 13 ชนิด (โปรตีนของเชื้อคอตีบ - Diphtheria CRM 197
ไวเอทเผยข้อมูลใหม่จากการทดลองขั้นที่ 3 ซึ่งตอกย้ำว่าวัคซีน Prevenar 13 มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส – ข้อมูลใหม่จากการทดลองทางคลินิกขั้นที่ 3 ในยุโรปแสดงให้เห็นว่า วัคซีน Prevenar 13* ของไวเอท (Wyeth) (NYSE: WYE) มีประสิทธิภาพในการป้องกัน13 โรคที่เกิดจากการติดเชื้อนิวโมคอคคัส ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปีทั่วโลกโดยข้อมูลล่าสุดซึ่งได้รับการเปิดเผยในการประชุมประจำปีครั้งที่ 27
โรงพยาบาลนนทเวช เชิญชวนพ่อแม่รณรงค์ “หนูน้อยปลอดโรคไอพีดี” – กรุงเทพฯ--29 พ.ค.--โรงพยาบาลนนทเวช ในช่วงหน้าฝนที่โรคปอดบวมในเด็กระบาดหนัก ศูนย์กุมารเวชกรรม โรงพยาบาลนนทเวช จัดกิจกรรมรณรงค์ “หนูน้อยปลอดโรคไอพีดี” ร่วมรณรงค์ให้ความรู้และวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส ต้นเหตุสำคัญของโรคปอดบวม ที่คร่าชีวิตเด็กเล็กทั่วโลกกว่าปีละ 2 ล้าน รวมทั้งกลุ่มโรคไอพีดี ที่ประกอบด้วยโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบและโรคติดเชื้อในกระแสเลือด
สำนักงานอาหารและยาสหรัฐรับพิจารณา Prevnar 13 ก่อนอนุมัติเป็นยาตัวใหม่สำหรับโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส – ไวเอท ฟาร์มาซูติคอลส์ (Wyeth Pharmaceuticals) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือไวเอท (NYSE: WYE) ประกาศว่า องค์การอาหารและยาสหรัฐ (FDA) กำลังอยู่ระหว่างพิจารณาสถานะยาให้กับ Prevnar 13* ซึ่งเป็นวัคซีนป้องกัน 13 โรคที่เกิดจากการติดเชื้อนิวโมคอคคัส (โปรตีนของเชื้อคอตีบ - Diphtheria CRM 197 protein) และรออนุมัติใบอนุญาตทางชีววิทยา (Biologics
ไวเอท ยื่นเรื่องต่อองค์การอาหารและยาสหรัฐเพื่อขอจำหน่ายวัคซีนป้องกัน 13 โรคที่เกิดจากการติดเชื้อนิวโมคอคคัสในทารกและเด็กเล็ก – วัคซีนดังกล่าวถูกพัฒนาขึ้นเพื่อป้องกัน 13 โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสที่แพร่หลายที่สุดในหมู่ทารกและเด็กเล็กไวเอท ฟาร์มาซูติคอลส์ (Wyeth Pharmaceuticals) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือไวเอท (NYSE: WYE) ประกาศว่า ทางบริษัทได้ยื่นขอใบอนุญาตทางชีววิทยา (Biologics License Application: BLA) ต่อองค์การอาหารและยาสหรัฐ สำหรับยา Prevnar 13(TM)
ภาพข่าว: รพ.วิภาวดี จัดกิจกรรม “หนูน้อยปลอดโรคไอพีดี” รณรงค์ป้องกันโรคไอพีดีในเด็กเล็ก – กรุงเทพฯ--26 ก.พ.--โรงพยาบาลวิภาวดี ศูนย์กุมารเวชกรรม โรงพยาบาลวิภาวดี จัดกิจกรรม “หนูน้อยปลอดโรคไอพีดี” รณรงค์ให้ความรู้ และวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส ต้นเหตุสำคัญของโรคปอดบวม สาเหตุการตายอันดับ 1 ของเด็กเล็กทั่วโลกกว่าปีละ 2 ล้านคน โดยมีพ่อแม่ให้ความสนใจเป็นจำนวนมาก พร้อมมอบรางวัล “หนูน้อยปลอดไอพีดี” แก่ครอบครัวผู้ชนะเลิศ
รพ.พญาไท 3 จัดโครงการ “หนูน้อยปลอดโรคไอพีดี” รณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไอพีดีในเด็กเล็ก ในช่วงหน้าหนาว – กรุงเทพฯ--23 ม.ค.--คอมมูนิเคชั่น แอนด์ มอร์ ศูนย์กุมารเวช โรงพยาบาลพญาไท 3 ร่วมกับ ศูนย์ลูกน้อยห่างไกล โรคไอพีดี จัดกิจกรรม “หนูน้อยปลอดโรคไอพีดี” รณรงค์ให้พ่อแม่ตระหนักถึงความสำคัญการป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส ในเด็กเล็ก สาเหตุสำคัญของการเกิดกลุ่มโรคไอพีดี ประกอบด้วย โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคติดเชื้อในกระแสเลือด และโรคปอดบวม
ภาพข่าว: กุมารแพทย์โรคติดเชื้อทั่วประเทศ ผนึกกำลังร่วมประชุมสัมมนาระดับชาติ เรื่อง โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส ครั้งแรกในประเทศไทย – กรุงเทพฯ--9 ธ.ค.--คอมมูนิเคชั่น แอนด์ มอร์ รศ. (พิเศษ) นพ. ทวี โชติพิทยสุนนท์ (ซ้ายสุด) เป็นประธานการจัดงานประชุมสัมมนาระดับชาติ เรื่อง โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส ครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งสมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย และสมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย
แพทย์โรคติดเชื้อทั่วประเทศ ร่วมประชุมสัมมนาระดับชาติ เรื่องโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสครั้งแรกในประเทศไทย – กรุงเทพฯ--3 ธ.ค.--คอมมูนิเคชั่น แอนด์ มอร์ สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย และสมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย นำแพทย์โรคติดเชื้อกว่า 200 คนจากทั่วประเทศร่วมผนึกกำลังประชุมสัมมนาระดับชาติ เรื่องโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสครั้งแรกในประเทศไทย มุ่งนำเสนอความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสร่วมกัน
ปฏิทินข่าวกิจกรรมประจำวันนี้(26 พฤศจิกายน 2551) – วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน 255108.00 น.                     การประชุมสัมมนาแพทย์โรคติดเชื้อระดับชาติ เรื่องโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในประเทศไทย ครั้งแรก ณ ห้องราชเทวี โรงแรมเอเชีย08.00 น.                     สภาอุตสาหกรรมฯ เชิญร่วมงานสัมมนาวิชาการ ประจำปี2551 “Weste Innovation and
ปฏิทินข่าวกิจกรรมประจำวันพรุ่งนี้(26 พฤศจิกายน 2551) – วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน 255108.00 น.                     การประชุมสัมมนาแพทย์โรคติดเชื้อระดับชาติ เรื่องโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในประเทศไทย ครั้งแรก ณ ห้องราชเทวี โรงแรมเอเชีย08.00 น.                     สภาอุตสาหกรรมฯ เชิญร่วมงานสัมมนาวิชาการ ประจำปี2551 “Weste Innovation and
การประชุมสัมมนาแพทย์โรคติดเชื้อระดับชาติ เรื่องโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในประเทศไทย ครั้งแรก – กรุงเทพฯ--20 พ.ย.-- การประชุมสัมมนาแพทย์โรคติดเชื้อระดับชาติ เรื่องโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในประเทศไทย ครั้งแรก รศ. (พิเศษ) นพ. ทวี โชติพิทยสุนนท์ เป็นประธานการประชุมสัมมนาระดับชาติ เรื่อง “โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในประเทศไทย ครั้งที่ 1” จัดโดย สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย และ สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน
ผลการทดลองทางคลีนิกในระยะที่สามเผยวัคซีน PCV13 อาจช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในทารกและเด็กเล็กที่มีอายุไม่ถึง 2 ขวบได้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น – - ข้อมูลการทดลองมีการนำเสนอในการประชุมประจำปีร่วมกันระหว่าง ICAAC และ IDSA- ผลการศึกษาบ่งชี้ว่าวัคซีนที่นำมาทดลองครั้งนี้อาจมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับวัคซีน Prevnar หรือ PCV7 ซึ่งเป็นวัคซีนที่ครอบคลุมเชื้อนิวโมคอคคัส 7 สายพันธุ์ และครอบคลุมเชื้อนิวโมคอคคัสได้อีก 6
ตุ๊ก-ชนกวนัน พาน้องแพรว-แพรวพิชชา รับการฉีดวัคซีนไอพีดี – กรุงเทพฯ--3 ก.ย.--คอมมูนิเคชั่น แอนด์ มอร์ ตุ๊ก-ชนกวนัน ดาราหญิงเจ้าบทบาท พาน้องแพรว-แพรวพิชชา ลูกสาวสุดที่รักวัย 2 เดือน เข้ารับการฉีดวัคซีนไอพีดี เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส (โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ, โรคติดเชื้อในกระแสเลือด, โรคหูน้ำหนวก และไซนัสอักเสบ) และโรคปอดบวม ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของเด็กเล็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ขวบทั่วโลกกว่าปีละ 2 ล้านคน โดยมี
ผลการวิจัยชี้ชัด วัคซีนไอพีดี เครื่องมือสำคัญช่วยลดอุบัติการณ์โรคติดเชื้อไอพีดีและปอดบวมในเอเชียแปซิฟิก – กรุงเทพฯ--16 มิ.ย.--คอมมูนิเคชั่น แอนด์ มอร์ จากผลการวิจัยชี้ชัดว่า วัคซีนไอพีดี สามารถลดอุบัติการณ์การป่วย และลดจำนวนเด็กเล็กที่ตายจากโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส ซึ่งเป็นสาเหตุการตายสำคัญอันดับต้นๆ ของเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ขวบทั่วโลกกว่า 2 ล้านคนต่อปี โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาอย่างทวีปเอเชียแปซิฟิกและแอฟริกา
ผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขเรียกร้องผู้นำทั่วโลกสร้างความมั่นใจให้ประชาชนเรื่องการเข้าถึงวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส – ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดเชื้อและวัคซีนชั้นนำจากทั่วโลกเกือบ 1,000 ราย กำลังเข้าร่วมในการสัมนา International Symposium on Pneumococci and Pneumococcal Diseases ครั้งที่ 6 (ISPPD-6) ในสัปดาห์นี้เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลต่างๆเร่งดำเนินการ เพื่อป้องกันประชาชนให้ปลอดภัยจากเชื้อนิวโมคอคคัส
องค์กรพันธมิตร ผนึกกำลัง พ่อแม่ร่วมเดินรณรงค์ ปกป้องลูกหลาน ปลอดจากโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส – กรุงเทพฯ--13 พ.ค.--Communication and More องค์กรพันธมิตรร่วมป้องกันโรคปอดบวมจากเชื้อนิวโมคอคคัส และโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส แห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (Asian Strategic Alliance for Pneumococcal Disease Prevention-ASAP) จับมือพ่อแม่ ผู้ปกครองหลายร้อยคนที่ตระหนักถึงความร้ายแรงของโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส องค์กรเอ็นจีโอ และหน่วยงานด้านสุขภาพชั้นนำต่างๆ
กรมควบคุมโรคสหรัฐฯ ชี้ วัคซีนไอพีดีสามารถป้องกันโรคปอดบวม และลดโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสได้ – กรุงเทพฯ--18 มี.ค.--คอมมูนิเคชั่น แอนด์ มอร์ กรมควบคุมโรคประเทศสหรัฐอเมริกา (Centers for Disease Control: CDC) เปิดเผย “วัคซีนไอพีดีสามารถป้องกันเด็กเล็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ขวบกว่า 60,000 คนในประเทศสหรัฐอเมริกา จากการติดเชื้อแบคทีเรียนิวโมคอคคัส หลังจากวัคซีนไอพีดีได้รับการอนุมัติในปี 2000” จากการศึกษาของ กรมควบคุมโรคประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า
กลุ่มพันธมิตรทางยุทธศาสตร์เพื่อการป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสแห่งเอเชียเดินหน้ารณรงค์ หวังปกป้องเด็กๆจากโรคพีดี – ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพจากทั่วเอเชียแปซิฟิกรวมกลุ่มกัน หวังป้องกันโรคติดเชื้อพีดีการต่อสู้เพื่อป้องกันมิให้เด็กๆ ในเอเชียแปซิฟิกต้องเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส หรือ โรคพีดี (Pneumococcal disease หรือ PD) กำลังดำเนินไปอย่างเร่งด่วน โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพจากทั่วภูมิภาคที่ได้มารวมตัวกัน เพื่อจัดตั้งกลุ่มเฉพาะกิจสำหรับจุดประสงค์ดังกล่าวในชื่อ