โรคอัมพาตเฉียบพลัน – กรุงเทพฯ--18 ก.พ.--โรงพยาบาลรามคำแหง “ จะทำอย่างไร?หากคุณมีเวลาเพียง 3 ชั่วโมง ”หากคุณต้องประสบภาวะที่เรียกว่า “หลอดเลือดในสมองอุดตันเฉียบพลัน”คุณมีเวลารักษาชีวิตของตนเองเพียง 3 ชั่วโมงเท่านั้น! โรคหลอดเลือดสมอง หรือโรคอัมพฤกษ์ หรืออัมพาต มีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ คือ หลอดเลือดในสมองตีบ หรืออุดตัน (พบประมาณ 70%) และเลือดออกในสมอง (พบประมาณ 30%) จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุขพบว่า
ภาพข่าว: งานสัมมนาจะรู้ได้อย่างไรว่าคุณเสี่ยงต่อโรคอัมพาตแค่ไหน – กรุงเทพฯ--20 ก.พ.--โรงพยาบาลรามคำแหง งานสัมมนา " จะรู้ได้อย่างไรว่าคุณเสี่ยงต่อโรคอัมพาตแค่ไหน ?โดย นพ.สุทัศน์ ฮ้อศิริมานนท์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยกรรมหลอดเลือดพญ.อริยา ทิมา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมประสาทวิทยาโรงพยาบาลรามคำแหง เมื่อวันเสาร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2555 ณ.ห้องประชุมอาคารCชั้น10 โดยที่งานสัมมนาในครั้งนี้มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมงานสัมมนากันอย่างคับคั่ง
ศูนย์อัมพาตเฉียบพลันโรงพยาบาลรามคำแหง ขอเชิญร่วมงานสัมมนา ในหัวข้อ จะรู้ได้อย่างไรว่าคุณเสี่ยงต่อโรคอัมพาตแค่ไหน?..&เทคโนโลยีตรวจหาเส้นเลือดสมอง – กรุงเทพฯ--18 ม.ค.--รพ. รามคำแหง ศูนย์อัมพาตเฉียบพลันโรงพยาบาลรามคำแหง ขอเชิญร่วมงานสัมมนา ในหัวข้อ "จะรู้ได้อย่างไรว่าคุณเสี่ยงต่อดรคอัมพาตแค่ไหน?..&เทคโนโลยีตรวจหาเส้นเลือดสมอง" วันเสาร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุมอาคาร C ชั้น 10 รพ. รามคำแหง
ศูนย์สมอง โรงพยาบาลรามคำแหง จัดสัมมนาในหัวข้อ “ ดูแลตัวเองอย่างไร...ให้ห่างไกลอัมพฤกษ์ อัมพาต และนวัตกรรมการรักษาโรคอัมพาตเฉียบพลัน ” – กรุงเทพฯ--18 ม.ค.--โรงพยาบาลรามคำแหง ศูนย์สมอง โรงพยาบาลรามคำแหง ขอเชิญร่วมสัมมนาในหัวข้อ “ ดูแลตัวเองอย่างไร...ให้ห่างไกลอัมพฤกษ์ อัมพาตและนวัตกรรมการรักษาโรคอัมพาตเฉียบพลัน ” วันเสาร์ที่ 30 มกราคม 2553 เวลา 13.00 - 15.30 น. ณ ห้องประชุม อาคาร C ชั้น 10 โรงพยาบาลรามคำแหง “ ไม่เสียค่าใช้จ่าย ” 13.00 –
เตือนอาการ “ชา อ่อนแรงครึ่งซีก-พูดไม่ชัด-ปากเบี้ยว” เสี่ยงเป็นอัมพาตสูง แนะพบแพทย์ภายใน 180 นาที มีโอกาสหาย – กรุงเทพฯ--7 พ.ค.--สวทช. นักวิชาการพบ “โรคอัมพาตในคนอายุน้อย” ถี่ขึ้น!! เหตุวัยรุ่นสูบบุหรี่จัด เตือนอาการ “ชา อ่อนแรงครึ่งซีก-พูดไม่ชัด-ปากเบี้ยว” เสี่ยงเป็นอัมพาตสูง ย้ำ! อย่าวางใจให้รีบพบแพทย์ภายใน 180 นาที มีโอกาสหาย ขณะที่ 1 ใน 3 ของผู้ป่วย ที่ไม่ได้รับการรักษาต่อเนื่อง เสี่ยงเป็นซ้ำภายใน 1 เดือน รศ.นพ. สมศักดิ์ เทียมเก่า