ข่าวประชาสัมพันธ์โรคอัลไซเมอร์ | newswit

เนื่องในเดือนอัลไซเมอร์โลก มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ
เนื่องในเดือนอัลไซเมอร์โลก มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ
ส่งเสริมความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ – ทำความเข้าใจโรคอัลไซเมอร์การเป็นโรคอัลไซเมอร์ส่งผลให้ความจำเสื่อมลง 25 Sep
งานแฟร์เพื่อสุขภาพ... เรื่องเล่าจากแพทย์
งานแฟร์เพื่อสุขภาพ... เรื่องเล่าจากแพทย์
ตอน “จะทำอย่างไรเมื่อคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ และโรคทางตา” – ภายในงานพบการบรรยายบนเวทีทุกวันในช่วงเวลา 13 Aug
เอไซฯ ผนึกเอกชนรับมือผู้ป่วยอัลไซเมอร์ในไทยพุ่งเกือบ
เอไซฯ ผนึกเอกชนรับมือผู้ป่วยอัลไซเมอร์ในไทยพุ่งเกือบ
3 เท่าใน 25 ปีข้างหน้า แนะสร้างระบบนิเวศและเข้าถึงการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม-อัลไซเมอร์ – ด้าน 13 Mar
เคลียร์บ้านให้ปอดภัย.. สำหรับผู้ป่วยอัลไซเมอร์
เคลียร์บ้านให้ปอดภัย.. สำหรับผู้ป่วยอัลไซเมอร์
– แม้ว่าอัลไซเมอร์จะไม่ใช่โรคร้าย แต่สร้างความเสียหายได้มากเหมือนกัน เพราะฉะนั้นอะไรที่ป้องกันได้ Sep 2023
งานประชุมนานาชาติของสมาคมอัลไซเมอร์ชูความก้าวหน้าในกลยุทธ์การรักษา วินิจฉัย และลดความเสี่ยง – งานประชุมนานาชาติของสมาคมอัลไซเมอร์เป็นเวทีชั้นนำที่จัดทุกปี เปิดโอกาสให้นำเสนอและอภิปรายเกี่ยวกับการวิจัยโรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองเสื่อม โดยการประชุมในปีนี้จัดขึ้นทั้งแบบออนไลน์และตัวต่อตัวที่กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ดึงดูดผู้เข้าร่วมประชุมได้กว่า 10,000 ราย และมีการนำเสนอผลงานทางวิทยาศาสตร์มากกว่า 3,000 รายการความก้าวหน้าในการรักษา
การตรวจเจาะปลายนิ้วสะท้อนความก้าวหน้าในการตรวจเลือดสำหรับโรคอัลไซเมอร์ – ผลจากการตรวจเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้วมีแนวโน้มที่มีศักยภาพ และอาจช่วยในการตรวจหาอัลไซเมอร์ที่บ้านหรือในสถานดำเนินงานของแพทย์การตรวจเลือดมีความแม่นยำสูงกว่า 80% ในการระบุการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับอัลไซเมอร์
สมาคมโรคอัลไซเมอร์รายงานข้อมูลจากโครงการศึกษายาโดนาเนแมบ เฟส 3 ในงาน AAIC ประจำปี 2566 – มีการรายงานข้อมูลเฟส 3 ทั้งหมดในงานประชุมนานาชาติของสมาคมอัลไซเมอร์ (Alzheimer's Association International Conference(R) หรือ AAIC(R)) ประจำปี 2566 ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ และทางออนไลน์ โดยข้อมูลดังกล่าวนี้ยังได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสมาคมการแพทย์อเมริกัน (Journal of the American Medical
สมองสดใสไอเดียก็ปิ๊งเลย – ไลฟ์เซ็นเตอร์บล็อก ชวนมาลองเช็คดูกันซักหน่อย ว่าเราเริ่มมีอาการหลงๆ ลืมๆ วางของแล้วจำไม่ได้ ลืมนัด ลืมชื่อคน เริ่มมีอาการพิมพ์ดีดผิดจากที่ไม่เคยเป็น หรือเริ่มนึกอะไรๆ ออก ช้ากว่าที่เคยกันบ้างหรือเปล่า เหล่านี้ ล้วนเป็นอาการที่เป็นสัญญาณเกี่ยวกับสมอง ที่ไม่ควรละเลยกันแล้วล่ะค่ะโรคสมองเสื่อม แม้จะเป็นไปตามธรรมชาติ แต่หากมีการดูแลที่ดี ก็อาจเป็นหนทางป้องกัน
คลินิกการประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนจีนหัวเฉียว
คลินิกการประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนจีนหัวเฉียว
จัดอบรมระยะสั้น ประจำปี 2566 หัวข้อ หัตถการการรักษาโรคอัลไซเมอร์ในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีนแบบดั้งเดิม – May 2023
กรุงศรี จับมือ เอไซ ร่วมสร้างระบบนิเวศและโซลูชันทางการเงินเพื่อการดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์
กรุงศรี จับมือ เอไซ ร่วมสร้างระบบนิเวศและโซลูชันทางการเงินเพื่อการดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์
รองรับการก้าวสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ – นายโยชิยูกิ โฮริโอะ May 2023
ไทยประกันชีวิตดูแลลูกค้ารอบด้าน
ไทยประกันชีวิตดูแลลูกค้ารอบด้าน
ขยายความคุ้มครองโรคอัลไซเมอร์ทุกระยะแห่งแรก – นายนิติพงษ์ ปรัชญานิมิต รองผู้จัดการใหญ่ และ Chief Marketing Feb 2023
ซินโครตรอนไทยร่วมโปรเจกต์สร้างแผนที่สามมิติสมองครั้งแรกของโลก
ซินโครตรอนไทยร่วมโปรเจกต์สร้างแผนที่สามมิติสมองครั้งแรกของโลก
– ภูเก็ต - สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) Dec 2022
ม.มหิดล ค้นพบสารสกัดจากสมุนไพรไทย
ม.มหิดล ค้นพบสารสกัดจากสมุนไพรไทย
นวโกฐ มีฤทธิ์ต้านโรคอัลไซเมอร์ในหลอดทดลอง – ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิงบุญรัตน์ Nov 2022
ไทยประกันชีวิตจับมือพันธมิตรเอไซฯ
ไทยประกันชีวิตจับมือพันธมิตรเอไซฯ
ผู้นำในอุตสาหกรรมยาด้านการรักษาโรคอัลไซเมอร์จากญี่ปุ่น ขานรับประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ – Nov 2022
มบส. เก๋ไก๋ ผุดกิจกรรม มิวสิควัคซีน
มบส. เก๋ไก๋ ผุดกิจกรรม มิวสิควัคซีน
ป้องกันโรค อัลไซเมอร์ – แม้ว่าโรคสมองเสื่อมหรือโรคอัลไซเมอร์ จะรักษาไม่หาย แต่ก็สามารถป้องกันได้ในหลายวิธี เช่น Aug 2022
ไฮไลต์จากการประชุมนานาชาติของสมาคมโรคอัลไซเมอร์ประจำปี 2565 – การประชุมนานาชาติของสมาคมโรคอัลไซเมอร์เป็นการประชุมประจำปีชั้นนำ เพื่อนำเสนอและอภิปรายเกี่ยวกับการวิจัยโรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองเสื่อม การประชุมแบบไฮบริดในปีนี้จัดขึ้นแบบออนไลน์และแบบออนไซต์ในเมืองซานดิเอโก ดึงดูดผู้เข้าร่วมประชุมกว่า 9 ,500 คน และการนำเสนอทางวิทยาศาสตร์มากกว่า 4,000 รายการ"การวิจัยโรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองเสื่อมกำลังอยู่ในช่วงที่น่าตื่นเต้นมาก
ผลวิจัยชี้การสูญเสียการรับกลิ่นเพราะโควิด-19 อาจทำให้เกิดปัญหาในกระบวนการรู้คิดระยะยาว – การเข้ารักษาใน ICU อาจทำให้ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงเป็นโรคสมองเสื่อมเพิ่มขึ้นเท่าตัวผลวิจัยต่าง ๆ ที่นำเสนอในการประชุมนานาชาติของสมาคมโรคอัลไซเมอร์ประจำปี 2565 หรือ Alzheimer's Association International Conference(R) (AAIC(R)) 2022 ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองซานดิเอโกและออนไลน์ เผยให้เห็นข้อมูลเจาะลึกใหม่ ๆ เกี่ยวกับปัจจัยที่อาจช่วยคาดการณ์ เพิ่มโอกาส
เตรียมก่อนสูงวัย สมองใส ห่างไกลโรคอัลไซเมอร์
เตรียมก่อนสูงวัย สมองใส ห่างไกลโรคอัลไซเมอร์
ศูนย์ดูแลภาวะสมองเสื่อม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ช่วยได้ – สาเหตุของการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ May 2022
ม.มหิดล ชี้อุปสรรควิจัยสมองเสื่อม
ม.มหิดล ชี้อุปสรรควิจัยสมองเสื่อม
ขาดฐานข้อมูลคนไทย – แต่นั่นคือความเสื่อมของความจำ ความคิดอ่าน ที่ไม่ได้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ Dec 2021
เตรียมก่อนสูงวัย สมองใส ห่างไกลโรคอัลไซเมอร์
เตรียมก่อนสูงวัย สมองใส ห่างไกลโรคอัลไซเมอร์
ศูนย์ดูแลภาวะสมองเสื่อม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ช่วยได้ – ข้อห่วงใยในอนาคตอันใกล้เมื่อสังคมไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่ Nov 2021
ทีเซลส์ ร่วมกับ มูลนิธิโรคอัลไซเมอร์แห่งประเทศไทย
ทีเซลส์ ร่วมกับ มูลนิธิโรคอัลไซเมอร์แห่งประเทศไทย
จัดกิจกรรมอบรมออนไลน์ หัวข้อ การดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ – Aug 2021
ไฮไลต์จากการประชุมนานาชาติของสมาคมโรคอัลไซเมอร์ประจำปี 2564 – "ข้อมูลใหม่เหล่านี้สะท้อนถึงแนวโน้มที่น่ากังวล โดยแสดงให้เห็นว่าการติดเชื้อโควิด-19 ก่อให้เกิดภาวะสมองเสื่อมถอยลงในระยะยาวและอาการของโรคอัลไซเมอร์" คุณ Heather M. Snyder, Ph.D. รองประธานฝ่ายความสัมพันธ์ทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์ของสมาคมโรคอัลไซเมอร์ กล่าว "โควิด-19 กำลังทำลายล้างทั่วโลก ด้วยยอดผู้ติดเชื้อทะลุ 190 ล้านราย และผู้เสียชีวิตกว่า 4 ล้านรายทั่วโลก ด้วยเหตุนี้
โควิด-19 มีความสัมพันธ์กับความบกพร่องของสมองในระยะยาว-อาการของโรคอัลไซเมอร์ที่เกิดเร็วขึ้น – นอกเหนือจากอาการเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหารแล้ว ผู้ติดเชื้อโควิด-19 จำนวนมากยังมีอาการทางจิตประสาทในระยะสั้นและ/หรือระยะยาว ตลอดจนสูญเสียการได้กลิ่นและรับรส รวมถึงมีความบกพร่องของสมองและสมาธิที่เรียกว่า "ภาวะสมองล้า" (brain fog) โดยในบางรายนั้น อาการทางระบบประสาทเหล่านี้คงอยู่ในระยะยาว
ผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมทั่วโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นสามเท่าภายในปี 2593 – ข้อมูลใหม่ที่ได้รับการเผยแพร่ในการประชุมนานาชาติของสมาคมโรคอัลไซเมอร์ประจำปี 2564 หรือ Alzheimer's Association International Conference(R) (AAIC(R)) 2021 ที่เมืองเดนเวอร์ รัฐโคโลราโด สหรัฐอเมริกา และถ่ายทอดผ่านทางออนไลน์ ระบุว่า แนวโน้มการเข้าถึงการศึกษามากขึ้นจะช่วยลดความชุกของโรคสมองเสื่อมทั่วโลกราว 6.2 ล้านเคสภายในปี 2593 แต่ในขณะเดียวกัน แนวโน้มการสูบบุหรี่
เตรียมพร้อม ป้องกัน อาการหลงลืม
เตรียมพร้อม ป้องกัน อาการหลงลืม
ในภาวะโรคสมองเสื่อม หรืออัลไซเมอร์ – โดย นพ. อุดม เพชรสังหาร แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศักยภาพสมอง กล่าวว่า Apr 2021
GemVax เผยผลการทดลองทางคลินิกเฟสสองของยารักษาโรคอัลไซเมอร์ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารชื่อดัง Alzheimer's Research & Therapy – รายงานฉบับนี้มีชื่อว่า "ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา GV1001 ในการรักษาผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ที่มีอาการปานกลางถึงรุนแรง ซึ่งได้รับยาโดนีพีซิล (donepezil) แล้ว: การทดลองทางคลินิกแบบสุ่ม ปกปิดข้อมูลสองทาง ใช้ยาหลอกเป็นตัวควบคุม และจัดทำให้ศูนย์หลายแห่ง เฟสสอง"
อาการมือเท้าสั่นโดยไม่ทราบสาเหตุ
อาการมือเท้าสั่นโดยไม่ทราบสาเหตุ
สัญญาณอันตรายใกล้ตัวที่อาจส่งผลต่อชีวิตคุณ – การรับประทานยา Mar 2021
วิธีดูแลผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ในช่วงโควิด-19
วิธีดูแลผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ในช่วงโควิด-19
ระบาด – ศาสตราจารย์ ดร.อรัญญา ตุ้ยคำภีร์ รองคณบดีคณะจิตวิทยา จุฬาฯ Feb 2021
GemVax & KAEL รายงานข้อมูลเชิงบวกจากการทดลอง GV1001 ระยะที่ 2 สำหรับโรคอัลไซเมอร์ – การศึกษาทดลองยา GV1001 ระยะที่ 2 โดย GemVax ได้ประเมินความปลอดภัยและประสิทธิภาพของการฉีดยา GV1001 เข้าใต้ผิวหนังในปริมาณ 0.56 มก. หรือ 1.12 มก. เป็นเวลาหกเดือนในผู้ป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ระดับปานกลางถึงรุนแรงที่ได้รับยา donepezil มาแล้วเป็นเวลามากกว่าสามเดือนในสถาบันการแพทย์ 12 แห่ง ศาสตราจารย์ Seong-Ho Koh จากโรงพยาบาล Hanyang University Guri
Alzheimer's Disease Data Initiative เปิดตัว AD Workbench เพื่อส่งเสริมนวัตกรรมการวิจัยระดับโลก และเร่งการค้นพบใหม่เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองเสื่อมอื่นๆ – Alzheimer's Disease Data Initiative (ADDI) ได้เปิดตัว AD Workbench สำหรับโรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's disease - AD) ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มคลาวด์สำหรับนักวิทยาศาสตร์ เพื่อเร่งให้เกิดการค้นพบและการพัฒนานวัตกรรมสำหรับโรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองเสื่อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ADDI