ปู ไปรยา เยี่ยมผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญาในฐานะทูตสันถวไมตรี UNHCR – นี่เป็นการเดินทางเยี่ยมผู้ลี้ภัยในต่างประเทศครั้งที่ 2 ของเธอ จากคราวที่แล้วที่ได้พบผู้ลี้ภัยซีเรียในประเทศจอร์แดน แต่เมื่อได้เห็นเหตุการณ์ชาวโรฮิงญา คุณปูพบว่าพวกเขาตกอยู่ในสภาพที่น่าเห็นใจอย่างยิ่ง ร้อยละ 55 ของประชากรคือเด็ก และจำนวนมากคือเด็กที่เป็นผู้นำครอบครัว หลายคนเจอความโหดร้ายมาตลอดชีวิต ถูกกดขี่ ล่วงละเมิด สูญเสียคนในครอบครัว พลัดพราก และบอบช้ำทั้งร่างกายและจิตใจ โดย 1 ใน
สหภาพรัฐสภาประณามการล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรฮิงญาในเมียนมา – ในการลงมติประเด็นฉุกเฉินในวาระการประชุม วันที่ 18 ตุลาคม ที่การประชุมสมัชชาใหญ่สหภาพรัฐสภา (IPU) ครั้งที่ 137 บรรดาสมาชิกรัฐสภาได้แสดงความวิตกกังวลต่อกรณีที่ชาวโรฮิงญานับล้านคนได้อพยพหนีภัยไปยังบังกลาเทศอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน รวมถึงผลกระทบด้านมนุษยธรรมและความมั่นคงที่อาจเกิดขึ้นทั้งสำหรับประเทศและภูมิภาค
ผู้ก่อร้าย ผู้อพยพชาวโรฮิงญา หรือหน่วยงานความมั่นคง ภัยต่อความมั่นคงของไทย – ช่วงเดือนที่ผ่านมา ข่าวคราวความรุนแรงในรัฐยะใข่ ประเทศเมียนมาก็ปรากฎขึ้นใหม่อีกครั้ง จากการโจมตีที่ตั้งของกองกำลังตำรวจชายแดนจนมีเจ้าหน้าที่เสียชีวิต 9 คน บาดเจ็บจำนวนหนึ่ง ที่นำไปสู่การปิดล้อมตรวจค้นชุมชนชาวโรฮิงญา โดยเฉพาะในสองเมืองชายแดนทั้งมองดอว์ และราธีดอง ในรัฐยะใช่ ที่มีรายงานถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งการยิงทิ้งชาวโรฮิงญาทั่วไป ยึดทรัพย์สินมีค่า
พม. เร่งเพิ่มล่ามโรฮิงญา และทบทวน MOU กับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ – พลตำรวจเอก อดุลย์ เปิดเผยภายหลังการประชุมว่า การประชุมครั้งนี้มีการพิจารณาแผนปฏิบัติการและมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ด้านสตรีและเด็ก โดยเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ในทุกกรณี ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ซึ่งกำหนดจะจัดอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน ๓ รุ่น
มาสเตอร์โพลล์ เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง ความคิดเห็นของแกนนำชุมชนกรณีผู้อพยพชาวโรฮิงญาและการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ – รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง ความคิดเห็นของแกนนำชุมชนกรณีผู้อพยพชาวโรฮิงญาและการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ : จำนวนทั้งสิ้น 1,079 ตัวอย่าง จาก 19
สถานการณ์โรฮิงญา การเดินทางของผู้อพยพจากบ้านเกิดสู่ความตาย – ความเป็นมา จากการขยายผลภายหลังที่เจ้าหน้าที่ตำรวจหัวไทรได้จับกุมนายอานัว ชาวโรฮิงญาที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ตามหมายจับของศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช ในคดีฉ้อโกง โดยตำรวจภูธรนครศรีธรรมราช ได้ประสานกับชุดสืบสวนกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรสงขลา เข้าจับกุมตัวไว้ได้เมื่อคืนของวันที่ 28 เมษายน ที่อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยมีผู้เสียหายได้แจ้งความว่าหลานของตนได้ถูกกักขัง
พม. รับดูแลสถานที่ควบคุมชาวโรฮิงญาและกลุ่มมุสลิมไม่ทราบสัญชาติ (อุยกูร์) โดยเฉพาะเด็กและสตรีอย่างเหมาะสมและปลอดภัย – พลตำรวจเอก อดุลย์ กล่าวว่า การประชุมในครั้งนี้เป็นการหารือถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหา อย่างบูรณาการ กรณีกลุ่มผู้ลักลอบเข้าเมืองชาวโรฮิงญาและกลุ่มมุสลิมไม่ทราบสัญชาติ (อุยกูร์) โดยแบ่งเป็น ๒ มาตรการ ได้แก่ ๑)มาตรการระยะสั้น คือ การคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ โดยทีมสหวิชาชีพ ได้แก่ นักสังคมสงเคราะห์ เจ้าหน้าที่ตำรวจ นักจิตวิทยา แพทย์
“กะเทาะปัญหา โรฮิงญา ชีวิตที่เป็นได้แค่เหยื่อกับสินค้าแรงงาน กับการจัดการของรัฐไทย” – เช้ามืดของวันที่ 11 มกราคม 2558 รถกระบะ 5 คัน ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรอำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราชเรียกตรวจ และพบชาวโรฮิงญากว่า 100 คน อัดกันมาในรถคันละเกือบ 20 คน ทุกคนอยู่ในสภาพอ่อนแอ หญิงสาวชาวโรฮิงญาคนหนึ่งถูกพบว่าเสียชีวิตตั้งแต่ถูกจับยัดอัดเข้าไปในรถกระบะแล้ว หลายสิบคนถูกส่งต่อไปรักษาที่โรงพยาบาลหัวไทร 2 คนเสียชีวิตในวันที่ 13 มกราคม เพียงแค่ 15 วันแรกของปี
พม. พร้อมดูแลช่วยเหลือชาวโรฮิงญาและชาวบังกลาเทศ จำนวน ๒๕๒ คน ภายหลังหลบหนีเข้าเมืองทางทะเล ที่จังหวัดระนอง – พลตำรวจเอกอดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ กล่าวว่า เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ที่ผ่านมา กรณีที่เจ้าหน้าที่ตำรวจกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดระนองนำกำลังเข้าควบคุมตัวชาวโรฮิงญาและชาวบังกลาเทศ จำนวน ๒๕๒ คน ที่หลบหนีเข้าเมืองทางทะเลที่อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง
พม. เร่งช่วยเหลือเหยื่อค้ามนุษย์ชาวโรฮิงญา ๕๓ ราย พร้อมคัดแยกเหยื่อไม่ทราบสัญชาติเพิ่มอีก ๗๙ ราย – พลตำรวจเอกอดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กล่าวว่า สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์(พมจ.) จังหวัดพังงา ได้รายงานความคืบหน้าในการช่วยเหลือผู้เสียหาย ชาวโรฮิงญา (บังคลาเทศ และเมียนมาร์) จำนวน ๕๓ ราย ซึ่งอำเภอตะกั่วป่าได้ส่งตัวชาวโรฮิงญาทั้งหมด พร้อมบันทึกการจับกุม
ภาพข่าว: เยี่ยมโรฮิงญาสงขลา – กรุงเทพฯ--1 ส.ค.--พม. นางปวีณา หงสกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เดินทางไปเยี่ยมเยือนกลุ่มโรฮิงญา ที่จังหวัดสงขลา จำนวน 102 คน ซึ่งพักอยู่ที่บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดสงขลา -นท- สามารถคลิกดูภาพประกอบได้ที่
ภาพข่าว: เยี่ยมโรฮิงญา – กรุงเทพฯ--5 ก.พ.--พม. นายวิเชียร ชวลิต ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พร้อมคณะ ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมและรับฟังข้อมูลสรุปสถานการณ์ในการให้ความช่วยเหลือชาวโรฮิงญา ผู้หลบหนีเข้าเมือง ณ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดปัตตานี และบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดสงขลา -นท- สามารถคลิกดูภาพประกอบได้ที่
สารคดีเกี่ยวกับชาวโรฮิงญาในประเทศไทยได้รับรางวัล จาก Amnesty International Media Awards – กรุงเทพฯ--8 มิ.ย.--แฟรนคอม เอชีย สถานีโทรทัศน์ซีเอ็นเอ็น อินเตอร์เนชั่นแนล ได้รับรางวัล Amnesty International Media ในสาขาสื่อโทรทัศน์และวิทยุนานาชาติยอดเยี่ยม จากสารคดี World’s Untold Stories: The Forgotten People ซึ่งนำเสนอโดย แดน ริเวอร์ส ผู้สื่อข่าวของซีเอ็นเอ็นประจำประเทศไทย กรณีการทารุณกรรมต่อชาวโรฮิงญาที่ต้องการลี้ภัยจากประเทศพม่า