จิตแพทย์กว่าพันคนเข้าร่วมการประชุมออนไลน์ Asia Pacific Psychiatry Symposium ครั้งที่ 2 – การประชุม Asia Pacific Psychiatry Symposium ครั้งที่ 2 ได้จัดขึ้นในรูปแบบออนไลน์โดยบริษัท Luye Pharma Group เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2563 โดยจิตแพทย์และผู้เชี่ยวชาญกว่า 1,000 คน จาก 9 ประเทศและดินแดน เช่น จีนแผ่นดินใหญ่ มาเลเซีย เกาหลี สิงคโปร์ และไทย ได้มาร่วมประชุมผ่านระบบคลาวด์เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับความก้าวหน้าล่าสุดในการรักษาความผิดปกติทางจิตใจ
มูลนิธิหมอชาวบ้าน จัดอบรม “ไบโพลาร์ (Bipolar) โรคของคนอารมณ์ 2 ขั้ว” – มูลนิธิหมอชาวบ้าน ขอเชิญเข้าร่วมอบรม"ไบโพลาร์ (Bipolar) โรคของคนอารมณ์ 2 ขั้ว"โดย ผศ.นพ.พิชัย อิฏฐสกุลคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีวันเสาร์ที่ 11 มีนาคม 2560 เวลา 13.30 – 16.30 น.ณ อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ ชั้น 2 ห้อง 201สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 กทม.สมัครเข้าอบรมไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ รับจำนวนจำกัดเพียง 300
กรมสุขภาพจิต ย้ำ ไบโพลาร์ รักษาได้ อยู่ร่วมสังคมได้ – นพ.พงศ์เกษม ไข่มุกด์ รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า วันที่ 30 มีนาคม ของทุกปี เป็นวันไบโพลาร์โลก (World Bipolar Day) เพื่อให้เกิดการตระหนักถึงปัญหา สร้างความรู้ความเข้าใจ ช่วยลดตราบาปทางสังคมที่มีต่อโรคนี้ ซึ่ง โรคไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar Disorder) เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคอารมณ์ผิดปกติที่พบได้บ่อยในทั่วโลก ประมาณ ร้อยละ 1-2 ขณะที่องค์การอนามัยโลก ระบุว่า
กรมสุขภาพจิต ย้ำ ผู้ป่วยทางจิต มีสิทธิ์ได้รับการคุ้มครอง เผย ไบโพลาร์ รักษาหายได้ สำคัญที่ต้องกินยาให้ต่อเนื่อง – นอกจากนี้ ปัจจุบันประเทศไทยของเราได้มี พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ที่บัญญัติขึ้นเพื่อให้การคุ้มครองสังคมจากอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตและมีภาวะอันตราย ในขณะเดียวกันก็คุ้มครองผู้ป่วยจิตเวช ให้ได้รับการบำบัดรักษาได้อย่างทั่วถึงและมีมาตรฐาน ตลอดจน คุ้มครองสิทธิในการเปิดเผยข้อมูลของผู้ป่วย
กรมสุขภาพจิต ย้ำ ไบโพลาร์ รักษาหายได้ กินยาอย่างต่อเนื่อง สำคัญที่สุด – พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า วันที่ 30 มีนาคม ของทุกปี เป็นวันไบโพลาร์โลก (World Bipolar Day) เพื่อให้ตระหนักถึงปัญหา สร้างความรู้ความเข้าใจ ช่วยลดตราบาปทางสังคมที่มีต่อโรคนี้ ซึ่ง โรคไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar Disorder) เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคอารมณ์ผิดปกติที่พบได้บ่อยในทั่วโลก ประมาณ 1-2% ขณะที่องค์การอนามัยโลก ระบุว่า
กรมสุขภาพจิต แถลงข่าว เนื่องในวันไบโพลาร์โลก 2558 – โดย พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต นพ.ศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน์ ผอ.รพ.ศรีธัญญา นพ.สันติชัย ฉ่ำจิตรชื่น ประธานการจัดงานฯ คุณเพียรชนันท์ ลีอุดมวงษ์ ประธานชมรมเพื่อนไบโพลาร์ ณ อาคารนายแพทย์หลวงวิเชียรแพทยาคม รพ.ศรีธัญญา 10.00 – 10.30 น. ชมนิทรรศการ “สุขสงบของสองขั้วโลก” 10.30 – 11.30 น. เสวนา เรื่อง “สุขสงบของสองขั้วโลก” ผู้ดำเนินรายการ
กรมสุขภาพจิต ย้ำ ไบโพลาร์ รักษาได้ แนะ กำลังใจ ความเข้าใจ และความใส่ใจจากครอบครัวสำคัญที่สุด – อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวต่อว่า จากรายงานจำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการในสถานพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2556 จำนวน 156,663 ราย พบ เป็นผู้ป่วยไบโพลาร์ 52,852 ราย หรือประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่วยที่มารับบริการทั้งหมด ทั้งนี้ เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ซึ่ง ช่วงอายุที่พบมาก 3 ลำดับแรก ได้แก่ 45-49 ปี รองลงมา 40-44 ปี และ 50-54 ปี ตามลำดับ
จิตแพทย์เตือน “เศร้าเกินเหตุ-สุขเกินไป” อย่าวางใจ สัญญาณอันตราย “ไบโพลาร์” รีบรักษาก่อน “สูญเสีย” – กรุงเทพฯ--6 ก.ย.--ไอแอมพีอาร์ จากสถิติสากลระบุว่าในกลุ่มประชากรโลกมีผู้ป่วยโรคไบโพลาร์ หรือ โรคอารมณ์ 2 ขั้ว จำนวน 1% เมื่อเทียบอัตราส่วนประชากร แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยด้วยโรคดังกล่าวสูงถึง 6 ล้านคน!!! แต่โรคไบโพลาร์ยังไม่เป็นที่ตื่นตัวในประชาชนทั่วไปมากนัก
รพ.มนารมย์บรรยายฟรี หัวข้อ เมื่อคนใกล้ตัวเป็นไบโพลาร์ – กรุงเทพฯ--13 ส.ค.--ไอแอมพีอาร์ หากคนใกล้ตัวมีภาวะอารมณ์ผิดปกติ ต่างไปจากเดิม บางรายซึมเศร้าสุดขีด บางรายอารมณ์ดี คึกคักเกินเหตุ ไม่นอน พูดมาก ใช้จ่ายเงินทองสิ้นเปลืองไม่สมเหตุสมผล ไม่สามารถรับผิดชอบหน้าที่การงานได้ หากเขาคือ เพื่อนร่วมงาน คือคนในครอบครัวของคุณ เป็นไปได้ว่า เขาเหล่านั้นกำลังเผชิญกับ “โรคไบโพลาร์” โรงพยาบาลมนารมย์ โรงพยาบาลเอกชนเฉพาะทางสุขภาพจิต
โรงพยาบาลมนารมย์ จัดบรรยายเรื่อง “ไบโพลาร์...โรคอารมณ์แปรปรวนที่รักษาได้” – กรุงเทพฯ--10 ก.พ.--มายแบรนด์ เอเจนซี่ โรงพยาบาลมนารมย์ โรงพยาบาลเฉพาะทางด้านจิตเวช ที่ให้บริการและดูแลด้านสุขภาพจิตแนวใหม่ ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ปัญหาความเครียดที่เกิดขึ้นกับคนไทยในปัจจุบันที่อาจส่งผลทำให้เกิดความเจ็บป่วยและอารมณ์แปรปรวน โดยเฉพาะโรคอารมณ์สองขั้วหรือไบโพล่าร์ ซึ่งอาจทำให้สูญเสียความสามารถในการทำงาน ทักษะสังคม และครอบครัวได้