RedHill Biopharma ได้รับอนุมัติ 2 สิทธิบัตรในสหรัฐฯ สำหรับ Opaganib ในการรักษาโรคไวรัสอีโบลาและ RHB-104 ในการรักษาโรคโครห์น – - การศึกษาทดลอง opaganib ระดับโลกระยะที่ 2/3 กับผู้ป่วยจำนวน 475 คนในการรักษาโรคโควิด-19 ขั้นรุนแรงกำลังจะเสร็จสมบูรณ์พร้อมผลลัพธ์โดยรวมของการศึกษา- ยา opaganib นี้ยังอยู่ระหว่างการศึกษาทดลองด้านมะเร็งวิทยาในสหรัฐฯ ระยะที่ 2 อีก 2 โครงการ พร้อมทั้งโครงการพัฒนาอื่น ๆ
สธ. ยันไทย สร้างความพร้อมมาตรการ “ป้องกันควบคุมโรคอีโบลา” พร้อมรับมือเต็มที่ – นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า จากการประชุมประเมินสถานการณ์โรคอีโบลา พบว่า ขณะนี้ยังคงมีการระบาดอยู่ใน 3 ประเทศแถบแอฟริกาตะวันตก คือ กินี ไลบีเรีย และประเทศเซียร์รา ลีโอน ข้อมูลองค์การอนามัยโลก ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2557 พบผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสอีโบลาทั้งหมด 15,145 ราย เสียชีวิตแล้ว 5,420 ราย
เกษตรฯ ชงครม.ผลักดันอีโบลาเข้า พ.ร.บ.โรคระบาดสัตว์ 2499 พร้อมวางมาตรการเข้มควบคุมนำเข้าสัตว์จากต่างประเทศ ด้านกรมปศุสัตว์มอบสถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติเตรียมความพร้อมห้องแล็ป-อุปกรณ์ตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา – สำหรับในส่วนของมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในสัตว์นั้น กระทรวงเกษตรฯ โดยกรมปศุสัตว์ได้เพิ่มความเข้มงวดมาตรการควบคุมการนำเข้า นำผ่านสัตว์และซากสัตว์จากต่างประเทศ
บริษัทชั้นนำจากแคนาดาเปิดตัวชุดเครื่องมือตรวจสอบเชื้อไวรัสอีโบลาที่ใช้เวลาเพียง 60 วินาที – ชุดเครื่องมือต้นแบบนี้มีรากฐานมาจาก INSTI อันเป็นแพลตฟอร์มการตรวจสอบที่รวดเร็ว ซึ่งมีความน่าเชื่อถือ แม่นยำ และได้รับการยอมรับในวงกว้าง โดยสามารถนำเสนอผลการตรวจสอบได้ภายในระยะเวลาเพียง 60 วินาที "เรารู้สึกตื่นเต้นเป็นอย่างยิ่งกับความสำเร็จของทีมวิจัยและพัฒนาของเราที่สามารถทำได้ในระยะเวลาที่ไม่นานนัก" ดร.คริสโตเฟอร์ แชคเคิลตัน ประธานบริหารของ bioLytical กล่าว "ปัจจุบัน
สมาพันธ์ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดแห่งโลก รณรงค์เรียกร้องให้เพิ่มความสำคัญและมาตราการในการจัดการภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด และเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับไวรัสอีโบลา เนื่องในวันภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดโลก 13 กันยายนนี้ – ขณะนี้ไวรัสอีโบลากำลังแพร่ระบาดรุนแรงอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ทางสมาพันธ์ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดแห่งโลก (Global Sepsis Alliance, GSA) ได้สนับสนุนจุดยืนของมาร์กาเร็ต ชาน ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก (WHO)
กรมควบคุมโรคให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา รู้ เข้าใจโรคฯ ไม่ตระหนก แต่..ตระหนัก – ถึงแม้โรคติเชื้อไวรัสอีโบลาจะเป็นโรคติดต่ออันตราย แต่พื้นที่การระบาดของโรคยังคงจำกัดอยู่ในทวีปแอฟริกาทางซีกตะวันตก และจนถึงวันนี้ยังไม่พบว่ามีผู้ติดเชื้อไวรัสอีโบลาในประเทศไทย อย่างไรก็ตามกระทรวงสาธารณสุขไม่ได้นิ่งนอนใจและไม่ได้ประมาท
ปภ.ประชุมหารือจัดทำแนวปฏิบัติเชิงบูรณาการเตรียมพร้อมรับมือเชื้อไวรัสอีโบลา – นายอนุสรณ์ แก้วกังวาล รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กล่าวว่า จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสอีโบลาในแถบแอฟริกา องค์การอนามัยโลกจึงได้ประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ โดยองค์การอนามัยโลกรายงาน มีผู้ติดเชื้อไวรัสอีโบลารวมทั้งสิ้น 3,069 ราย ผู้เสียชีวิต 1,552 ราย ถือเป็นการระบาดครั้งใหญ่ที่สุดของเชื้อไวรัสอีโบลาและเป็นความเสี่ยง
กรม คร. ตรวจความพร้อมด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศทางน้ำ เพื่อเข้มมาตรการการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในไทย – นพ.โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค ให้สัมภาษณ์หลังตรวจเยี่ยมด่านทางน้ำว่า กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค ได้ติดตามสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาอย่างใกล้ชิดกับองค์การอนามัยโลก โดยการระบาดโรคยังอยู่ใน 4 ประเทศในทวีปแอฟริกาด้านตะวันตก ยังไม่มีการระบาดออกนอกทวีป สถานการณ์โรคอีโบลาทั่วโลก องค์การอนามัยโลกรายงาน ณ วันที่
สพฉ. เน้นย้ำแนวทางป้องกันตนเองสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ พร้อมรับการระบาดของเชื้ออีโบลา ย้ำต้องเตรียมมาตรการป้องกันแม้โอกาสระบาดในไทยมีน้อยมาก แนะผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ต้องไม่สัมผัสกับผู้ป่วยโดยตรง – นพ.อนุชา เศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) กล่าวว่า จากกระแสข่าวเรื่องการระบาดของเชื้ออีโบลา ซึ่งแม้ว่าจะยังไม่พบผู้ติดเชื้อในประเทศไทย แต่ทาง สพฉ. ก็ได้มีการเตรียมความพร้อม ให้คำแนะนำในการปฏิบัติงานแก่หน่วยกู้ชีพ
สคร. 12 สงขลา สั่งด่านควบคุมโรค เฝ้าระวังเข้มงวด ไวรัสเมอร์ส - ไวรัสอีโบลา – ดร.นายแพทย์สุวิช ธรรมปาโล ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา เปิดเผยว่า จากรายงานการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2012 ในประเทศไทย ของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน – 18 กรกฎาคม 2557 ได้รับแจ้งผู้ป่วยเข้าข่ายเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2012 ทั้งหมด 24 ราย จาก 9
การบินไทยออกมาตรการป้องกันโรคไวรัสอีโบลาเพื่อเพิ่มความมั่นใจให้แก่ผู้โดยสาร – นาวาอากาศตรี พงศ์ภีระ ไพศาลกุลวงศ์ ผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายความปลอดภัย ความมั่นคง และมาตรฐานการบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ตามที่มีข่าวการแพร่ระบาดของโรคไวรัสอีโบลาในทวีปแอฟริกา ได้แก่ประเทศกินี เซียร์ราลีโอน และไลบีเรีย แต่การบินไทยทำการบินไปยัง โจฮันเนสเบิร์ก สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ เพียงจุดบินเดียว โดยทำการบินสัปดาห์ละ 3 เที่ยวบิน และไม่มีเที่ยวบินไปยังประเทศกินี เซียร์ราลีโอน