สินค้าประมงไทยส่อรุ่งรับปีใหม่ผู้นำเข้าประมงไทยยุโรปขานรับ...หลังไทยได้ใบเขียว – พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลป์ยะ รองนายกรัฐมนตรี เปิดเผยภายหลังเป็นประธานการประชุมผู้นำเข้าสินค้าประมงไทยในทวีปยุโรป ณ กรุงบรัสเซลล์ ประเทศเบลเยี่ยม โดยมีสมาคมผู้นำเข้าสินค้าประมงสหภาพยุโรปรายใหญ่เข้าร่วมงาน อาทิ บริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหาร ประจำสหราชอาณาจักร สมาคมการค้าที่สนับสนุนการค้าอย่างยั่งยืน (AMFORI) ว่า แม้ในช่วงที่มาประเทศไทยจะมีปัญหาความเชื่อมั่นในการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย
“บิ๊กฉัตร” ไฟเขียวระบบตรวจเอกสารแจ้งเข้า-ออกศูนย์ PIPO เอื้อชาวประมง – วันนี้ ( 9 พ.ค.61) เวลา 14.30 น. พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย เปิดเผยภายหลังหารือร่วมกับ นายมงคล สุขเจริญคณา ประธานสมาคมการประมงแห่งประเทศไทย พร้อมนำคณะกรรมการสมาคมการประมงแห่งประเทศไทยชุดใหม่เข้าพบ ณ ห้องประชุม 302 ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล ว่า
“บิ๊กฉัตร”ส่งทูตวีระชัยนำทีมคณะผู้แทนไทยพร้อมภาคเอกชนผนึกกำลัง บุกเวทีประมงระดับโลกเสริมความเชื่อมั่นประมงไทยปลอดไอยูยู – สำหรับกิจกรรมภายในงานนอกจากการจัดแสดงสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงใหม่ๆ รวมทั้งการแปรรูป บรรจุภัณฑ์ บริการด้านสินค้าอาหารทะเล โซนนิทรรศการของหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการประมงของทั่วโลกแล้ว ยังมีกิจกรรมที่สำคัญ คือ การเสวนาเกี่ยวกับสถานการณ์ สถานะ ข้อมูลปัจจุบันด้านการประมงระดับภูมิภาคและระดับโลก
อสป.ร่วมกับ ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลงนาม MOU เดินหน้าพัฒนาโครงการ ASEAN Catch Document Scheme ระบบตรวจสอบย้อนกลับสัตว์น้ำช่วยแก้ปัญหาประมงไอยูยูภูมิภาค – องค์การสะพานปลา เล็งเห็นว่าการจัดทำระบบอิเล็คทรอนิคนี้สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาของสัตว์น้ำได้อย่างถูกต้อง และรายงานผลด้วยความรวดเร็วจึงได้พัฒนาโปรแกรม FMO e- MCPD Application ขึ้นมาเพื่อนำมาใช้งานในการจัดทำหนังสือกำกับการซื้อขายสัตว์น้ำตามพระราชกำหนดการประมง
รัฐมนตรีเกษตรฯ เยือนเกาหลีใต้
ร่วมเป็น 1 ใน 7 ประเทศถกเวทีระดับผู้กำหนดนโยบายในภูมิภาคเอเชียแก้ไอยูยู และการบริหารทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
Nov 2016
“พลเอกฉัตรชัย”เตรียมเยือนสิงคโปร์ร่วมประชุมรัฐมนตรีเกษตร ป่าไม้ อาเซียนครั้งที่ 38 เสนอแผนยกระดับแก้ประมงไอยูยูอาเซียน หวังคืนความยั่งยืนของทรัพยากรประมงในภูมิภาค – พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ในระหว่างวันที่ 5 – 7 ตุลาคม นี้ มีกำหนดการเดินทางเยือนสาธารณรัฐสิงคโปร์อย่างเป็นทางการ ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทยเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ ครั้งที่ 38 และการประชุมอื่นที่เกี่ยวข้อง
เกาหลีใต้หนุนไทยต้านประมงไอยูยู เตรียมตั้งคณะทำงานร่วมหลังลงนามสองประเทศ พร้อมเชื่อมยกระดับคุณภาพความปลอดภัยสินค้าสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ มุ่งควบคุมนำเข้า-ส่งออกระหว่างกัน – รวมถึงยังได้แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นในการควบคุมมาตรฐานสินค้าประมงนำเข้า-ส่งออก โดยเร่งรัดให้ทั้งสองฝ่ายดำเนินงานและดำเนินความร่วมมือภายใต้ข้อตกลงการยอมรับร่วม (MRA) ให้เกิดความต่อเนื่องโดยเร็ว เพื่ออำนวยความสะดวก
รัฐมนตรีเกษตรฯ เตรียมเยือนถิ่นโสมขาว พัฒนาความร่วมมือด้านการเกษตร เทคโนโลยีด้านน้ำ มาตรฐานสินค้าประมงและการป้องกันประมงไอยูยูระหว่างกัน พร้อมผลักดันขยายช่องแลกเปลี่ยนสินค้าเกษตรระหว่างสองประเทศ – 1. การลงนามความร่วมมือกับทางเกาหลีใต้รวม 3 ฉบับ ประกอบด้วย 1.) บันทึกแสดงเจตจำนง (MOI) ระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แห่งราชอาณาจักรไทย กับกระทรวงที่ดิน โครงสร้างพื้นฐาน และการคมนาคมแห่งสาธารณรัฐเกาหลี
รัฐมนตรีเกษตรฯ ชี้ยังไม่ได้รับใบเหลือง-ใบแดงในการแก้ปัญหาประมงจากอียูตามที่มีกระแสข่าว – นอกจากนี้ รมว.เกษตรฯ ยังได้กล่าวเพิ่มเติมถึง กรณีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง มีคำพิพากษาในคดีฮั้วประมูลซื้อปุ๋ยของกระทรวงเกษตร ของอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และนายวิทยา เทียนทอง อดีตเลขานุการ และอดีต ส.ส.สระแก้ว ว่า ถือเป็นบทเรียนสำคัญของข้าราชการที่ต้อง ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ทั้งนี้ ได้กำชับให้ผู้บริหารหน่วยงานในสังกัดทุกกรม
เกษตรฯ ยืนยันความพร้อมของประเทศไทย ในการส่งผู้สังเกตการณ์ไปร่วมสังเกตการณ์การจับสัตว์น้ำของเรือประมงและเรือขนถ่ายสัตว์น้ำ หลังติวเข้มผู้สังเกตการณ์บนเรือประมงกลุ่มบุคคลทั่วไปกว่า 30 คน พร้อมลงเรือตรวจสัตว์น้ำตามผู้ประกอบการร้องขอ ป้องประมงไอยูยู – "ตลอดระยะเวลา 30 วัน ของการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกฯ ได้เรียนรู้ทั้งหลักทฤษฎีและปฏิบัติ ซึ่งได้รับทราบและเกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องทั้งในเรื่องของอำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ
ไทย-ไต้หวัน จับมือเร่งเดินหน้าทำความตกลงด้านการประมง เพื่อแก้ไขปัญหาไอยูยู ภาคเอกชนไต้หวันขานรับมาตรการตรวจสอบย้อนกลับและเอกสารรับรองการจับปลาทูน่าก่อนส่งไทย มุ่งเป้าปลดล็อกใบเหลืองระหว่างกัน – ทั้งนี้ ในเบื้องต้นทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องกันที่จะทำข้อตกลงร่วมกันในการแก้ไขปัญหาประมงไอยูยู โดยสาระสำคัญของข้อตกลงฯ คือ ทั้งสองประเทศจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการตรวจสอบย้อนกลับระหว่างกัน
รัฐมนตรีเกษตรฯ ไทย หารือรัฐมนตรีประมงฟิจิ ร่วมแก้ปมไอยูยู พร้อมผลักดันความร่วมมือด้านประมงภายใต้กรอบเอ็มโอยู เล็งต่อยอดวิชาการด้านประมงและพัฒนาอุตสาหกรรมประมงร่วมกันทั้งภาครัฐ -เอกชนเพิ่ม – 1.ความร่วมมือทางวิชาการด้านประมง และอำนวยความสะดวกทางการค้าการลงทุนด้านการประมงระหว่างกันเพิ่มขึ้น ซึ่งฝ่ายไทยได้แจ้งรายชื่อคณะทำงานร่วมด้านประมง โดยมีอธิบดีกรมประมง เป็นประธานคณะทำงานร่วมฯ
“ฉัตรชัย” เยือนฟิจิ หารือความร่วมมือด้านเกษตรและประมงหลังลงนามเอ็มโอยู เล็งเสนอฟิจิสนับสนุนด้านวิชาการผลิตมะพร้าวของไทย พร้อมแลกเปลี่ยนประสบการณ์แก้ประมงไอยูยูจากฟิจิ – ทั้งนี้ ในเบื้องต้นประเด็นที่ประเทศไทยจะหยิบยกขึ้นหารือ คือ การผลักดันความร่วมมือด้านวิชาการการพัฒนามะพร้าวที่ฟิจิมีความเชี่ยวชาญด้านสายพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ การทำมะพร้าวอินทรีย์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ให้แก่ไทยในการนำมาพัฒนาต่อยอดวิชาการในเรื่องมะพร้าวให้มีผลผลิตเพียงพอต่อกับความต้องการของตลาด
ไทยขยายความร่วมมือด้านการเกษตรโปแลนด์ พร้อมย้ำความเชื่อมั่นการแก้ไขประมงไอยูยูผ่านทูต – นอกจากนี้ ยังได้ร่วมหารือถึงความร่วมมือด้านการเกษตรระหว่างกัน โดยกระทรวงเกษตรฯของไทยมีความยินดีที่จะทำความร่วมมือด้านการเกษตรกับโปแลนด์ โดยจะเป็นการสานต่อตามที่ทั้งสองฝ่ายได้แสดงความจำนงว่าด้วยความร่วมมือด้านการเกษตร ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฯของไทยและโปแลนด์ ได้ลงนามในหนังสือแสดงเจตจำนงฯ ระหว่างการเยือนสาธารณรัฐโปแลนด์ของนายกรัฐมนตรีไทย
ไทย-ฟิจิ ลงนามเอ็มโอยูความร่วมมือด้านเกษตรและประมง หวังเพิ่มขีดความสามารถทางวิชาการเกษตรระหว่างกัน ทั้งเป็นช่องทางให้ไทยขยายการค้าและลงทุนไปยังฟิจิและประเทศในหมู่เกาะแปซิฟิกอื่นๆ พร้อมเชื่อมข้อมูลอุดช่องประมงไอยูยู – "เอ็มโอยูทั้งสองฉบับจะเป็นกลไกสำคัญในการส่งเสริมความร่วมมือด้านวิชาการทางการเกษตรและประมงของไทยกับประเทศหมู่เกาะฟิจิ
รัฐมนตรีเกษตรฯ แจงทูตเยอรมันเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำของประเทศ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นการผลิตอาหารป้อนตลาดโลก พร้อมแจงรัฐบาลไทยจริงใจแก้ปัญหาประมงไอยูยู – ขณะเดียวกัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฯ ยังได้ให้รายละเอียดถึงแผนการบริหารจัดการน้ำของประเทศ ซึ่งครอบคลุมในทุกด้าน ทั้งการป้องกันน้ำท่วม การเพิ่มแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร การพัฒนาคุณภาพน้ำ โดยมีกรอบระยะเวลาดำเนินการให้เห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรมใน 10 ปี ซึ่งก็เชื่อมั่นว่าการดำเนินงานของรัฐบาลจะทำให้ไทย