นายสุวิชญฯ กล่าวเพิ่มเติมว่า ""สถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่องจะส่งผลดีต่อการจัดเก็บรายได้รัฐบาล และกระทรวงการคลังจะติดตามกำกับดูแลการจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานในสังกัดอย่างใกล้ชิด เพื่อให้การจัดเก็บรายได้รัฐบาลปีงบประมาณ 2561 เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้""
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลสุทธิเดือนตุลาคม 2560ปีงบประมาณ 2560
(ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560) และเดือนกันยายน 2560
1. ปีงบประมาณ 2560 (ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560) (ตารางที่ 1)
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ จำนวน 2,350,590192,425 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 97,590180 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.00.3 แต่ต่ำกว่าเดือนเดียวกันช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 6.61.8 โดยเป็นผลจากการนำส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจ การจัดเก็บรายได้ของส่วนราชการอื่น การนำส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจ และการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพสามิตสรรพากรสูงกว่าประมาณการ 4,444 1,376 และ 726 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.8 8.3 และ 0.6 ตามลำดับ อย่างไรก็ดี ผลการจัดเก็บรายได้ของปีงบประมาณ 2560 ต่ำกว่าช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากในช่วงเดียวกันปีก่อนมีรายได้พิเศษ เช่น การประมูลใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อประกอบกิจการโทรคมนาคม (3G และ 4G) การชำระภาษีการพนันของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล เป็นต้น ซึ่งหากไม่รวมรายได้พิเศษดังกล่าว การจัดเก็บรายได้ในปีนี้ขยายตัวร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนนอกจากนี้ กรมสรรพสามิตจัดเก็บรายได้ได้ตามประมาณการ
ผลการจัดเก็บรายได้แยกตามหน่วยงานจัดเก็บสรุปได้ ดังนี้
1.1 กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 1,792116,896848 ล้านบาท สูงต่ำกว่าประมาณการ 74,104726 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.64.0 แต่ยังสูงกว่าเดือนเดียวกันช่วงเดียวกันปีก่อนจำนวน 234,949762 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.40 โดยภาษีที่จัดเก็บได้สูงต่ำกว่าเป้าหมายประมาณการที่สำคัญ ได้แก่
1.2 กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 40562,365043 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 12,465 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.3สูงกว่าประมาณการเล็กน้อย แต่และสูงต่ำกว่าช่วงเดียวกันเดือนเดียวกันปีปีก่อนจำนวน 977 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.62.4 โดยภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย ได้แก่
อย่างไรก็ดี ภาษียาสูบจัดเก็บได้ต่ำกว่าประมาณการ 2,017 ล้านบาท หรือร้อยละ 47.6 (ต่ำกว่าเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 55.7) เนื่องจากอยู่ในช่วงปรับตัวของผู้ประกอบกิจการยาสูบหลังพระราชบัญญัติ ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2560ล้านบาท หรือร้อยละ 2.7 โดยสูงกว่าช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 1.4 และภาษีเบียร์จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 1,196 ล้านบาท
1.3 กรมศุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 104,7858,652 ล้านบาท ต่ำกว่าประมาณการ 94815,715 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.913.0 หรือแต่สูงต่ำกว่าเดือนเดียวกันช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 6.110.5 โดยเป็นผลจากการจัดเก็บอากรขาเข้าต่ำกว่าประมาณการเป้าหมายจำนวน 16,7861,159 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.314.2 หรือแต่ต่ำกว่สูงกว่าเดือนเดียวกันช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 7.36.9 เนื่องจากมูลค่าต้องอากรลดลง สอดคล้องกับการใช้สิทธิพิเศษภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีที่ขยายตัวต่อเนื่อง ประกอบกับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างภาษีศุลกากรระยะที่ 2 สูงกว่าที่ประมาณการไว้ ส่งผลให้มูลค่าต้องอากรของสินค้าที่มีสัดส่วนอากรขาเข้าสูง ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เช่น ยานบกและส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบ เครื่องจักรและเครื่องใช้กล ของทำด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้า เป็นต้น
1.4 รัฐวิสาหกิจ นำส่งรายได้รวม 34162,265546 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 31,2654,444 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.823.9 แต่ต่ำและสูงกว่าเดือนเดียวกันช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 21.34.3 ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการนำส่งรายได้ที่ค้างนำส่งจากปีก่อนหน้า ประกอบกับรัฐวิสาหกิจบางแห่งมีผลประกอบการที่ดีขึ้น โดยรัฐวิสาหกิจที่นำส่งรายได้สูงกว่าประมาณการ 5 อันดับแรก ได้แก่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล การไฟฟ้านครหลวง โรงงานยาสูบ และบริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล การท่าเรือแห่งประเทศไทย การประปาส่วนภูมิภาค และธนาคารอาคารสงเคราะห์
1.5 หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 16918,000242 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 371,400398 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.328.4 แต่ต่ำกว่าเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 37.1 ส่วนราชการอื่นจัดเก็บรายได้รวม 18,047 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 1,376 ล้านบาท แต่ต่ำกว่าเดือนเดียวกันช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 37.5นร้อยละ 42.2 สาเหตุสำคัญมาจากการรับรู้ส่วนเกินจากการจำหน่ายพันธบัตร (Premium) เป็นรายได้แผ่นดิน และการนำส่งเงินสภาพคล่องส่วนเกินของกองทุนหมุนเวียน
กรมธนารักษ์จัดเก็บรายได้รวม 1950,465 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมายประมาณการ 4,40522 ล้านบาท หรือร้อยละ 172.7 และสูงกว่าเดือนเดียวกันช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 54.828.3 โดยเป็นผลมาเนื่องจากรายได้จากที่ราชพัสดุสูงกว่าประมาณการ 3,834 ล้านบาท หรือร้อยละ 73.7 สาเหตุมาจากการปรับปรุงค่าเช่าสนามบินของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และการเปิดประมูลให้ใช้ที่ในท่าเรือภูเก็ต นอกจากนี้ รายได้จากการจ่ายแลกเหรียญกษาปณ์จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 43572 ล้านบาท หรือร้อยละ 64.38.0
1.6 การคืนภาษีของกรมสรรพากร จำนวน 23288,475000 ล้านบาท ต่ำกว่าประมาณการ 112,125831 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.03.7 ประกอบด้วยการคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 207,696 18,000 ล้านบาท ต่ำกว่าประมาณการ 437,204600 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.415.2 และการคืนภาษีอื่น ๆ (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์) จำนวน 580,779000 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 26,1,079769 ล้านบาท หรือร้อยละ 47.754.8
1.7 อากรถอนคืนกรมศุลกากร จำนวน 70610,110 ล้านบาท ต่ำสูงกว่าประมาณการ 110294 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.129.4
1.8 การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้กับองค์การบริหารส่วนจังหวัด จำนวน 115,305400 ล้านบาท ใกล้เคียงประมาณการต่ำกว่าประมาณการ 2,095 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.0
1.9 เงินกันชดเชยภาษีสำหรับสินค้าส่งออก จำนวน 818,15200 ล้านบาท ต่ำกว่าประมาณการ 397848 ล้านบาท หรือร้อยละ 33.2 เนื่องจากการปรับลดอัตราเงินกันชดเชยภาษีสำหรับสินค้าส่งออกจากร้อยละ 0.75 เป็นร้อยละ 0.5 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 เป็นต้นไป4.5
1.10 การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตาม พ.ร.บ. กำหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ ในปีงบประมาณ 2560 เป็นเงิน 108,679 ล้านบาท ต่ำกว่าประมาณการ 2,321 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.1
2. เดือนกันยายน 2560 (ตารางที่ 2)
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 224,408 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 11,514 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.4 สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 4.8 เป็นผลจากการนำส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจ และการจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานอื่นสูงกว่าประมาณการ 8,964 และ 7,385 ล้านบาท หรือร้อยละ 114.2 และ 134.4 ตามลำดับ โดยภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการได้แก่ ภาษีรถยนต์ ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีน้ำมันสูงกว่าประมาณการ 3,191 2,550 และ 2,096 ล้านบาท หรือร้อยละ 38.4 2.3 และ 13.4 ตามลำดับ
สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3573