มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดประชุมวิชาการระหว่างประเทศ เรื่อง "นโยบายหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจญี่ปุ่น - อาเซียน : มุมมองของประเทศเอเชีย"

06 Nov 2003

กรุงเทพฯ--6 พ.ย.--มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ด้วยโครงการญี่ปุ่นศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยการสนับสนุนงบประมาณจากมูลนิธิญี่ปุ่น กำหนดจัดประชุมวิชาการระหว่างประเทศ เรื่อง "นโยบายหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจญี่ปุ่น - อาเซียน : มุมมองประเทศเอเชีย" ในวันพฤหัสบดีที่ 15 และวันศุกร์ที่ 16 มกราคม 2547 ณ ห้องสัมมนา 3 สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

การจัดประชุมวิชาการดังกล่าว เพื่อให้มีเวทีสำหรับการอภิปรายเชิงวิชาการเกี่ยวกับนโยบายใหม่ของญี่ปุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากมุมมองของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม ประเทศไทย สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐเกาหลี และญี่ปุ่น

ในโอกาสนี้ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ข่าวให้ผู้สนใจทราบทั่วกัน ทั้งนี้มิได้เก็บค่าลงทะเบียบแต่อย่างใด ผู้เข้าร่วมประชุมทางวิชาการได้ โดยไม่ถือเป็นวันลา เมื่อได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาแล้ว ข้าราชการ/ลูกจ้าง/พนักงานรัฐวิสาหกิจจากหน่วยงานต่างๆ สามารถเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการจากต้นสังกัดได้ และกรุณาส่งใบตอบรับการเข้าร่วมประชุมวิชาการที่โทรสารหมายเลข 0-2564-4888 ภายในวันศุกร์ที่ 2 มกราคม 2547 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ที่โทรศัพท์หมายเลข 0-2564-5000-3 ต่อ 305

จึงเรียนมาเพื่อขอเชิญเข้าร่วมการสัมมนาและขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ข่าว การประชุมวิชาการ ดังกล่าวด้วย จักขอบคุณยิ่ง

International Conference

Title: Japan-ASEAN Comprehensive Economic Partnership: Asian Perpectives.

Significance of issue: The Japanese government by Prime Minister Koizumi had announced the the new policy toward ASEAN during his visit to this region in January 2002. This new policy is called "An Initiative for the Comprehensive Economic Partnership." The objective is to create "a community that acts togetther and advaces together." Under this policy, 2 main issues will be emphasized: the economic cooperation, and the cooperation for the future (such as education, human resources development, transnational issues.) This policy has much impact on not only ASEAN countries, but also Asian region as a whole. Moreover, among ASEAN countries,they do not have similar reactions or policies to the Japanese proposal. Therefore, it is interesting to study this new policy, the impact of it, and the reactions of Asian countries to this policy individually and as a whole picture of ASEAN.

Objective: to provide a forum for an accademic disussion about the new policy of Japan, particularly the views form Asian countries, including Indonesia, Malaysia, the Philippines, Singapore, Thailand, Vietnam, PRC and South Korea.

Time and Place: 15-16 January 2004

Thammasat University, Rangsit. (Japanese Studies Center)

Participating countries: Indonesia, Malaysia, the Philippines, Singapore, Thailand, Vietnam, PRC and South Korea. and Japan.

International ConferenceJapan-ASEAN Comprehensive Economic Partnership: Asian Perpectives.

Schedule14 January 2004

The whole day Arrival of all participants

15 January 2004

08:30 - 09:00 Register09:00 - 09:15 Reported by the Director of the Institute of East Asian Studies09:15 - 09:30 Opened by the Rector of Thammasat University09:30 - 09:45 Welcome Speech by the Japanese Ambassador to Thailand09:45 - 10:30 Keynote Speech.10:30 - 10:45 Break10:45 - 11:20 Paper presentation (Japan)11:20 - 11:55 Paper presentation (Singapore)11:55 - 13:30 Lunch13:30 - 14:05 Paper presentation (Thailand)14:05 - 14:40 Paper presentation (Malaysia)14:40 - 15:15 Paper presentation (The Philippines)15:15 - 15:30 Break15:30 - 16:05 Paper presentation (Indonesia)16:05 - 16:40 Paper presentation (Vietnam)18:00 - 20:00 Dinner hosted by Thammasat University

Japanese Cultural Show

Moderator

1.Morning session:

2.Afternoon sessino: End.

-SK/PM-