เหงื่อออกที่มือ อาจดูเหมือนเป็นอาการเล็ก ๆ แต่จริง ๆ แล้วอาจเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลต่อความมั่นใจ กระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันหรือการทำงาน เช่น การเขียนหนังสือ การพิมพ์โทรศัพท์ อาชีพนักธุรกิจที่ต้องอาศัยการจับมือ เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วร่างกายมีการขับเหงื่อเพื่อปรับอุณหภูมิในร่างกาย ช่วยระบายความร้อนในร่างกาย เมื่อกล่าวถึงภาวะเหงื่อออกที่มือ คือ ในสภาวะปกติที่ไม่ได้สัมพันธ์กับอุณหภูมิ หรือปัจจัยกระตุ้นอื่น ๆ เช่น ตื่นเต้น ความเครียด หรือการออกกำลังกาย เป็นต้น กลับมีปริมาณเหงื่อออกมามากผิดปกติได้
เหงื่อออกที่มือในทางการแพทย์แผนจีนเกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง
อาการเหงื่อออกมือมักพบในผู้มีภาวะอินพร่อง ความร้อนกำเริบขึ้นภายในร่างกาย ชี่พร่องไม่สามารถควบคุมการเปิดปิดของรูขุมขน หรือหยางหมิงเกิดภาวะร้อนแกร่ง อวัยวะกลวงส่วนจงเจียว (กระเพาะอาหาร ตับ ถุงน้ำดี หรือม้าม) มีความร้อนชื้นอุดกั้น อาจเกิดจากพื้นฐานของสภาพร่างกาย กรรมพันธุ์ หรือการใช้ชีวิตของคนในสังคมยุคปัจจุบัน เช่น การตรากตรำทำงานหนัก ชอบรับประทานของเผ็ดร้อน ของทอด ของมัน รวมถึงการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ
เหงื่อออกมือมีความสัมพันธ์กับโรคหัวใจจริงหรือไม่
คัมภีร์หวงตี้เน่ยจิง กล่าวว่า "?????" ของเหลวของหัวใจ คือ เหงื่อ เนื่องจากหัวใจกำกับหลอดเลือด เลือดและของเหลวในร่างกายล้วนมาจากแหล่งสร้างเดียวกัน เหงื่อจึงเป็นของเหลวที่แปรสภาพมาและมีความใกล้ชิดกับหัวใจ อาการของโรคหัวใจอาจจะมีความสัมพันธ์กับโรคเหงื่อได้ แต่ต้องมีอาการของโรคหัวใจเพิ่มเติมด้วย เช่น ใจสั่น แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอกร้าวไปที่คอหรือแขนด้านซ้าย
การรักษาอาการเหงื่อออกมือในทางการแพทย์แผนจีน
สุดท้ายนี้ฝากถึงผู้อ่านทุกท่าน สังเกตเหงื่อออกมือครั้งต่อไปว่ามีความผิดปกติหรือไม่ เพราะเพียงสังเกตสิ่งเล็ก ๆ เหล่านี้ อาจเป็นสัญญาณเตือนถึงความผิดปกติในร่างกายที่ไม่ควรมองข้าม
กรมอนามัย ลงพื้นที่ตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในศูนย์พักพิง เจเจ มอลล์ จตุจักร กรุงเทพมหานคร และบริเวณศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ฯ เพื่อคุ้มครองสุขภาพประชาชนและสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ปฏิบัติงานกู้ซากอาคารถล่ม และญาติผู้ประสบภัยที่พักอาศัยภายในศูนย์พักพิงฯ เนื่องจากแผ่นดินไหวที่ประเทศเมียนมา พร้อมเผยผลตรวจวัดคุณภาพอากาศ พบฝุ่นโลหะหนัก แร่ใยหินอยู่เกณฑ์ปกติ แต่มีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กเกินมาตรฐาน แนะ สวมหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ แพทย์หญิงอัมพร เบญจพลพิทักษ์ อธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า กรมอนามัย
งานสัมมนา "เมื่อไหร่ควรพบแพทย์? อาการปัสสาวะเล็ด ราด บ่อย ลำบาก, ติดเชื้อ, นิ่วในไต, ต่อมลูกหมากโต"
—
หากคุณหรือคนใกล้ตัวเคยมีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินปัส...
รพ.ธนบุรี จับมือ รพ.ศิริราช จัดงานประชุมวิชาการแพทย์ด้านกระดูกสันหลังนานาชาติ
—
รพ.ธนบุรี ในเครือ THG นำโดย ศ.คลินิก.นพ.วิศิษฏ์ วามวาณิชย์ ประธานเจ้าหน้าท...
ประจำเดือนมาเจ็บหน้าอกทุกที สาเหตุโรคลมรั่วในเยื่อหุ้มปอด
—
เมื่อไม่นานมานี้ ผมได้เจอเคสผู้ป่วยหญิงอายุราว 40 ปี มารักษาด้วยอาการเจ็บแน่นหน้าอก เป็น ๆ หาย...
ไขข้อข้องใจโรคไส้เลื่อน
—
นพ.ศิรสิทธิ์ เลาหทัย ศัลยแพทย์เฉพาะทางด้านการผ่าตัดส่องกล้องขั้นสูง กล่าวว่า ใครที่กำลังคิดว่า ไม่ใส่กางเกงชั้นในแล้วจะเป็นไส้...
เช็กลิสต์สุขภาพดีฉบับผู้หญิงยุคใหม่
—
ร่วมฉลองวันสตรีสากลปี 2025 นี้ ภายใต้ธีม "Accelerating Action" เพื่อแสดงให้เห็นถึงพลังในการเปลี่ยนแปลงที่อยู่...
"Cryoablation จี้ไฟฟ้าหัวใจด้วยบอลลูนเย็น 3 มิติ รักษา "หัวใจเต้นผิดจังหวะ"
—
Cryoablation เป็นเทคนิคการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ทันสมัยและปลอดภัย โด...
'เดชอิศม์' ระดมทันตแพทย์ มอบฟันเทียม 45,000 รายทั่วประเทศ เป็นของขวัญวันผู้สูงอายุ
—
นายเดชอิศม์ ขาวทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า จากกระ...
ทีม SEhRT ผลัด 2 รับไม้ต่อร่วมจัดการสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อมในประเทศเมียนมาเหตุแผ่นดินไหวเสี่ยงสุขภาพประชาชน
—
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ส่งทีม SEhR...