อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และบริษัทมณีจันทร์ไอโอทีโซลูชันจำกัดมอบเครื่องฉายแสงUVC ฆ่าเชื้อแบบเคลื่อนที่“V-Free By Maneejun” ฆ่าเชื้อไวรัส ให้กับจังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ธัญญานุภาพอานันทนะผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่พร้อมด้วยคุณไกสรมณีจันทร์ประธานกรรมการบริษัทมณีจันทร์ไอโอทีโซลูชันจำกัดและคณะมอบเครื่องฉายแสงUVC ฆ่าเชื้อแบบเคลื่อนที่“V-Free By Maneejun” จำนวน3 เครื่องมูลค่า163,000 บาทแก่หน่วยงานราชการจังหวัดเชียงใหม่โดยมีนายเจริญฤทธิ์สงวนสัตย์ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่เป็นผู้รับมอบเพื่อขยายผลการใช้งานผลผลิตนวัตกรรมให้เข้าถึงกลุ่มคนทุกภาคส่วนมากขึ้นนอกเหนือจากการมอบเพื่อใช้ในสถานพยาบาลจากที่ดำเนินการมอบมาแล้วจำนวนมากกว่า10 แห่งโดยหวังช่วยบรรเทาสถานการณ์ความรุนแรงด้านการแพทย์และสาธารณสุขในปัจจุบันรวมถึงการใช้ประโยชน์แก่ประชาชนในระยะยาว
เครื่องฉายแสงUVC ฆ่าเชื้อแบบเคลื่อนที่“V-Free By Maneejun” โดยบริษัทมณีจันทร์ไอโอทีโซลูชันจำกัดเป็นผลผลิตนวัตกรรมในการกำเนิดแสงUV ที่มีความเข้มข้นในช่วงคลื่น253.7 นาโนเมตรสำหรับฆ่าเชื้อทำความสะอาดในพื้นที่มีระบบ
อากาศปิดโดยเฉพาะสถานพยาบาลและวัสดุทางการแพทย์ซึ่งช่วยลดโอกาสความเสี่ยงของการติดโรคแก่บุคลากรและผู้ใช้บริการสถานพยาบาลโดยออกแบบให้อุปกรณ์สามารถเคลื่อนที่ได้เพื่อความสะดวกต่อการใช้งานและเพิ่มพื้นที่สำหรับการฆ่าเชื้อในบริเวณต่างๆที่ยากต่อการทำความสะอาดทั้งยังมีระบบหยุดการทำงานฉุกเฉินพร้อมสามารถควบคุมการทำงานจากระยะไกลแสดงผลประสิทธิภาพการทำงานและรายงานผลอายุการใช้งานของอุปกรณ์หลอดUVC ผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนซึ่งสะดวกต่อผู้ใช้งานทั้งนี้ได้ออกแบบเครื่องดังกล่าวเพื่อให้เหมาะกับการใช้งานถึง3 ขนาดครอบคลุมรัศมีการทำงานจากเครื่องในระยะ3 - 5 เมตรซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับพื้นที่อื่นๆได้เช่นสำนักงานสถานที่ให้บริการของหน่วยงานที่มีความแออัดหรือมีการสัมผัสจากกลุ่มคนจำนวนมากไม่ว่าจะเป็นสถานศึกษาตลาดสดรถขนส่งสินค้าโรงแรมฯลฯโดยสามารถช่วยลดต้นทุนในการทำความสะอาดจากการใช้น้ำยาฆ่าเชื้อลดจำนวนแรงงานและระยะเวลาในการทำความสะอาดรวมถึงลดปัญหาภาวะขาดแคลนน้ำยาฆ่าเชื้อได้อีกด้วย
ม.วลัยลักษณ์แถลงข่าวเตรียมจัดประชุมวิชาการนานาชาติ WRC 2025 เนื่องในโอกาสครบปีที่ 33 แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัย เชิญวิทยากรจากมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับโลกร่วมเป็นองค์ปาฐก มีนักวิชาการตอบรับเข้าร่วมแล้วกว่า 20 ประเทศทั่วโลก ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (มวล.) พร้อมด้วย รองศาสตราจารย์ ดร.วิชิตพันธุ์ รองวงศ์ ผอ.สถาบันส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุรักษ์ ถุงทอง ผอ.อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกันแถลงข่าวการจัดประชุม
บริษัทก่อสร้างชั้นนำ หนุน ม.วลัยลักษณ์ เอ็มโอยูพัฒนางานวิจัยในอุตสาหกรรมก่อสร้าง
—
2 บริษัทก่อสร้างชั้นนำของประเทศ ร่วมกับ ม.วลัยลักษณ์ เซ็นเอ็มโอยูพร้อมม...
มวล.เปิดเวทีระดมสมอง กำหนดกลยุทธ์ยกระดับระบบวิจัยฯ ขับเคลื่อนพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
—
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เปิดเวทีระดมความเห็นเพื่อกำหนดกลยุทธ์ยกร...
เอ็นไอเอ เปิดตัว "นิลมังกรซีซั่น 3" ดันนวัตกรรมไทยจากโลคอลสู่โกลบอล
—
ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง (แถวหน้าที่ 3 จากซ้าย) ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค...
"เฮงลิสซิ่ง" มอบน้ำดื่มให้แก่ สสส. จ.เชียงใหม่ เพื่อเป็นกำลังใจในการช่วยพัฒนาศักยภาพของผู้พิการ
—
เมื่อวันที่ 25 ส.ค. 2566 ที่ผ่านมา บริษัท เฮงลิสซิ่ง แอน...
AIT จับมือ BOI เปิดอุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเขตส่งเสริมการลงทุน สนับสนุนวิสัยทัศน์ประเทศ สู่ศูนย์กลางแห่งนวัตกรรมและเทคโนโลยี
—
เมื่อวันที่ 7 กัน...
เนต้า ออโต้ เซ็น MOU กับ HKSTP ตั้งสำนักงานใหญ่ระดับนานาชาติในฮ่องกง
—
เมื่อวันที่ 31 สิงหาคมที่ฮ่องกง เนต้า ออโต้ (NETA Auto) และองค์การอุทยานวิทยาศาสตร์...
ทีม Daywork คว้ารางวัลชนะเลิศรับ 300,000 บาท จาก Krungsri UPcelerator เตรียมบินลัดฟ้าร่วมงานใหญ่ที่สิงคโปร์
—
ครั้งแรกกับ Krungsri UPcelerator Demo Day ที...
มหกรรมสินค้า U2T for BCG ลุยอีสานสำเร็จ "อว." ไม่หยุดพัฒนาสินค้าชุมชนสู่ตลาดผู้บริโภค
—
ลุยอีสานประสบผลสำเร็จเป็นที่พอใจ ภายหลังจาก ดร.ดนุช ตันเทอดทิตย์ เ...